ปกติ : อิต. ปรกติ, ธรรมดา, คงที่
ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็น อ เป็น ปกติสนธิ.
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
สีตาลุ : (วิ.) มีความหนาวเป็นปกติ วิ. สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ อาลุ ปัจ. พทุลตัท.
อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ยชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง ย เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
ปกติคมน : นป. การไปอย่างธรรมดา
กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
กมฺมสีล : ค. ผู้ทำการงานเป็นปกติ
การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
กึสีล : ค. ผู้มีอะไรเป็นปกติ, ผู้มีอุปนิสัยอย่างไร
เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
จงฺกมิก : ค. ผู้เดินจงกรมเป็นปกติ, ผู้ถือการจงกรมเป็นวัตร
จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
ทสฺสี : (วิ.) ผู้เห้น, ผู้เห็นโดยปกติ, ผู้มีอันเห็นเป็นปกติ, ผู้มีปกติเห็น. ทิสฺ เปกฺขเณ, ณี.ผู้คบ. ฯลฯ, ผู้ถือเอา, ฯลฯ, ผู้ระวัง, ฯลฯ, ผู้ป้องกัน, ฯลฯ, ทิสฺ อาทานสํวรเณสุ.
ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
ทานสีล : (วิ.) ผู้มีทานและศีล, ผู้มีการให้เป็นปกติ, ผู้มีปกติให้.
ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
ธมฺมชีวี : (ยิ.) ผู้เป็นอยู่โดยปกติโดยธรรม, ผู้เป็นอยู่ตามธรรมโดยปกติ, ผู้มีปกติเป็น อยู่โดยธรรม, ผู้เป็นโดยอยู่ธรรม, ผู้เป็น อยู่ตามกฎหมาย.
ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
ปรทตฺตูปชีวี : (วิ.) ( เปรต ) ผู้อาศัยทานอัน บุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ, ผู้มีปกติ เข้าไปอาศัยทานอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่, ผู้อาศัยทานอันบุคคลให้เป็นอยู่, ผู้ เป็นอยู่ ด้วยทานอันบุคคลให้ .
ปากติก : ค. ซึ่งเป็นปกติ, ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติ
ปาปสีล : ค. มีความชั่วเป็นปกติ, มีใจชั่วเป็นนิสัย
ปิณฺฑปาติก : ค. ภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากบิณฑบาตเป็นปกติ
ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
ภาชี : (วิ.) ผู้แจก, ผู้แจกเป็นปกติ. ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑.
ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
หึสาสีล : (วิ.) ผู้มีความเบียดเบียนเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. หึสา สีลํ อสฺส อตฺถีติ หึสาสีโล.
อกฺขายี : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าว, ฯลฯ.ณีปัจ.แปลงอาเป็นอาย.
องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
อจฺเจก : (วิ.) ผิดปกติ, รีบร้อน, จำเป็น, บังเอิญเป็น, พิเศษ.
อตฺถวาที : ค. ผู้มีปกติกล่าวแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
อทฺธคู : (วิ.) ผู้เดินทาง, ผู้เดินทางไกล, ผู้ท่องเที่ยว, ผู้เดินทางไกลเป็นปกติ, ผู้เดินทางไกลโดยปกติ.อทฺธปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู.
อธมฺมวาที : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าวซึ่งคำไม่ถูกต้อง, ผู้มีปกติกล่าวไม่เที่ยงตรง, ผู้พูดไม่เป็นธรรม
อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.