ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
ชล : (วิ.) โพลง, ลุกโพลง, รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, แหลม, คม, เจริญ, มั่งคั่ง, มั่งมี, เป็นสิริ, ดี, เลิศ, ชลฺ ทิตฺติธญฺเญสุ, อ.
สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
อสภ : ๑. ป. โคอสภะ, วัวผู้, วัวที่เป็นหัวหน้า, ถือว่าเป็นมงคล ; บุรุษผู้ประเสริฐ ; ขิง ;
๒. นป. มาตราวัดยาว ๒๐ ยัฏฐิ = ๑๔๐ คิวบิท ;
๓. ค. สูงสุด, เลิศ
อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
ธญฺญ : (วิ.) มีบุญ, มีสิริ, ดี, เจริญ, มั่งมี, รุ่งเรือง, ร่าเริง, สำราญ, เลิศ. ธนฺ ธญุเญ, โย, นฺยสฺส โย. ทฺวิตฺตํ. รูปฯ ๓๙๓ ณฺย ปัจ. ๖๔๔ ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๐ วิ. ธนาย สํวลฺลตีติ ธญฺญํ (เป็นไปเพื่อ ทรัพย์).
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
เอตทคฺค : (วิ.) ผู้ยอดในทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมใน ทางหนึ่ง, ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, ผู้เลิศ ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, เอตทัคคะ. เอก+อคฺค แปลง ก เป็น ต ทฺ อาคม.
ขลคฺค : (นปุ.) ทานอันเลิศอันบุคคลพึงให้ใน กาลเป็นที่นำมาซึ่งฟ่อนข้าวสู่ลาน.
ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
อคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้เลิศ, ผู้เลิศ; ความยอดเยี่ยม
อคฺคมหาเสนาปติ : (ปุ.) มหาเสนาบดีผู้เลิศ, อัครมหาเสนาบดี (ผู้เป็นหัวหน้าแห่งเสนาบดี).
อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
อปฺปมาณ : (วิ.) นับไม่ได้, ประมาณไม่ได้, ไม่เป็นประมาณ, ประเสริฐเลิศล้น, ประเสริฐที่สุด, อประมาณอัประมาณ (กำหนดไม่ได้จำกัดไม่ได้ไม่มีที่สุด).ส. อปฺรมาณ.
อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
อริยสาวก : (ปุ.) สาวกผู้ประเสริฐ, สาวกผู้เลิศ, สาวกผู้เป็นอริยะ, พระอริยสาวก.
อุตฺตมตา : อิต. ความเป็นของสูงสุด, ความเลิศ
อุตฺตริย : นป. ความเป็นของสูง, ความเลิศยิ่ง; คำกล่าวตอบ
เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.
คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
ชญฺญ : ค. บริสุทธิ์, งาม, เลิศ, ประเสริฐ, มีสกุล, ผู้รู้
ปณีต : ค. ประณีต, ดียิ่ง, เลิศ, ละเอียด, เรียบร้อย, อร่อย
ปวร : ค. ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
ปเสฏฺฐ : ค. ประเสริฐ, เลิศ
พฺรหฺมภูต : ค. อันประเสริฐ, เลิศ
ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
ภวติ : ก. มี, เป็น, เกิด
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
ภูวิ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง. วิ ปัจ.
วิสิฏฺฐ : ค. ประเสริฐ, เลิศ
สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
โหติ : ก. มี, เป็น
อติสย : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, ยิ่งกว่า, นักหนา, หนักนามากมาย, ดียิ่ง, เลิศ, ประเสริฐ, อดิสัย, อดิศัย. ส. อติศย.
อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
อริย : (วิ.) เจริญ, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด.ส.อารย.
อวตส : (วิ.) ยอด, เลิศ, ประเสริฐ.
อุกฺกฏฐ : ค. อุกฤษฏ์, เลิศ, ประเสริฐ, สูงยิ่ง
อุคฺคต : กิต. ขึ้นไปแล้ว, งอกขึ้นแล้ว, สูง, เลิศ
อุตฺตส : (วิ.) ยอด, เลิศ, ประเสริฐ.
อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.
อุฬาร : (วิ.) ใหญ่, ใหญ่โต, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, ประเสริฐ, เลิศ, เลิศล้น, กว้างขวาง, แพร่หลาย, ไพเราะ, หยาบ (ไม่ละเอียด), โอฬาร. วิ. อุฬนํ อุคฺคมนํ วิปุลคมนํ อุฬารํ. อุลฺ อุคฺคมเน, อาโร, ลสฺส ฬตฺตํ. ส. อุทาร.
โอสฺส : ค. สูง, เลิศ, ประเสริฐกว่า