Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นใหญ่, ใหญ่, เป็น , then ปน, ปนหญ, เป็น, เป็นใหญ่, หญ, ใหญ่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นใหญ่, 4545 found, display 1-50
  1. ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
  2. อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
  3. นาย นายก : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.
  4. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  5. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  6. อิสร อิสฺสร : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น จอม. วิ. อีสนํ สามิภวนํ อิสโร อิสฺสโร วา. ส. อีศวร.
  7. ปภู : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นประธาน. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อู, กฺวิ วา. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น ปภุ.
  8. อินฺทฺริย : (วิ.) ใหญ่, เป็นใหญ่, ปกครอง.
  9. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  10. อธินอธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่ายผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย.อธิคโตอิโนปภูเยนาติอธีโน.อธีน
  11. อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
  12. อธิป : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, อธิปุพฺโพ, ปารกฺขเณ, โร.ส. อธิป.
  13. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  14. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  15. ธมฺมำธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, ธรรมาธิปไตย (ถือความถูกต้อง เป็นใหญ่).
  16. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  17. โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
  18. นาถ : (วิ.) เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่. นาถฺธาตุ อ ปัจ. ส. นาถ
  19. สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  20. อธิปติ : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่.
  21. อยฺย : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่.
  22. อยิร : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่ง.รแปลว่าเป็นใหญ่, เป็นประธาน.อภิ+รแปลงภฺเป็นปฺ ปฺเป็นยฺ.เป็นเจ้า, เป็นใหญ่.อยฺย+อิรปัจ.ลบยฺสังโยค.
  23. มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
  24. มุข : (วิ.) เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นประมุข, เป็นหัวหน้า, เป็นประถม, ฉลาด, ชำนาญ.
  25. สุร : (วิ.) เป็นใหญ่, กล้า, กล้าหาญ, เข้มแข็ง, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง. สุรฺ อิสฺสริยทิตฺตีสุ, อ.
  26. ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
  27. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  28. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  29. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  30. ฆฏ : (ปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  31. ฆฏา : (อิต.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  32. ฆาฏก : (ปุ.) ต้นมะขาม, ต้นมะกา, ต้นกระ- เบียน, ต้นมูกใหญ่. คนผู้ฆ่า. ฯลฯ หฏฺ หึสายํ, ณฺวุ. แปลง ห เป็น ฆ.
  33. โจรเชฏฺฐ โจรเชฏฺฐก : (ปุ.) นายโจร (คนที่ เป็นใหญ่ในพวกโจร). เป็น ส. ตัป. โจร – โจก (โจกคือหัวหน้า), โจรผู้เป็นหัวหน้า, โจรผู้เป็นใหญ่. เป็นวิเสสนบุพ. กัม.
  34. ติมินฺท : (ปุ.) ปลาติมินทะ ชื่อปลาใหญ่. วิ. ติมีนํ อินฺโท ติมินฺโท. เป็น ติมินนฺท บ้าง วิ. ติมิโน มจฺเฉ นนฺทยตีติ ติมินนฺโท.
  35. ททฺทรี : (ปุ.) ทัททรี ชื่อกลอง, กลองมีหู ( เป็น กลองใหญ่). ททฺทอิติ สทฺทํ กโรตีติ ททฺทรี. ททฺทปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อี, กโลโป. ททฺ ทาเน วา, รี. แปลง ทฺ เป็น ทฺท หรือ ทรฺ วิทารเณ, อี. ฎีกาอภิฯ เป็น ททฺทริ ลง อิ หรือ ริ ปัจ.
  36. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  37. ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
  38. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  39. ปทร : (ปุ.) ลำธาร, ระแหง, ไม้เลียบ, กระดาน, ซอกศิลาใหญ่, ถ้ำใหญ่, การแตก, การทำลาย. ปปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. เป็น นปุ. บ้าง.
  40. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  41. มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
  42. มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
  43. อชคร : (ปุ.) สัตว์ผู้กินแพะ, สัตว์ผู้กินแกะ, สัตว์ผู้กลืนแกะ, ฯลฯ, งูเหลือม.วิ. อชํคิลตีติอชคโล. อชปุพฺโพ, คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ (แปลง อิ เป็น อ), ลสฺสรตฺตญฺจ (และแปลง ล เป็น ร).เป็นอชคล โดยไม่แปลง ล เป็น ร บ้าง. ส.อชคร งูใหญ่.
  44. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  45. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  46. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  47. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  48. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  49. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  50. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4545

(0.2030 sec)