ธเมติ : ก. พัด, เป่า, ทำเสียง, จุดไฟ
ปุปฺผติ : ก. ออกดอก, บาน; เป่า, พัด
นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
ธมติ : ก. เป่า, พัด, ทำเสียง, เปล่งเสียง, จุดไฟ, ไหม้, เกรียม, ถลุง, หลอม
สนฺธมติ : ก. เป่า, พัด
อภิธมติ : ก. เป่า, พัด, ฝัดออก
อุปลาเสติ : ก. เป่า, ให้เสียง
อุปฬาเสติ : ก. เป่า, ให้เสียง
ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
ธนฺต : กิต. เป่าแล้ว, พัดแล้ว, ทำเสียงแล้ว, จุดไฟแล้ว
ธม, ธมก : ค. ผู้เป่า, ผู้ออกเสียง, ผู้สวด
นตฺถุ : (อิต.) จมูก. นาสฺ สทฺเท, ถุ, รสฺโส, สสฺส โต. ไทย ยานัตถุ์ ก็คือยาที่เป่าเข้า ไปในจมูก.
นาฏย : นป. การดีด, การสี, การตี, การเป่า, การขับ, การร้อง
นิทฺธนฺต : ค. ซึ่งขจัดแล้ว, ถูกปัดเป่าออกแล้ว, ซึ่งสะอาด
นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
ปณุทติ : ก. บรรเทา, ปัดเป่า
ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
มุขททฺทริก : (นปุ.) การเล่นเป่าปาก.
เวณวิก : ป. คนเป่าปี่
สงฺขธม : ป. ผู้เป่าสังข์
อคฺคิสโยค : (ปุ.) การเป่าไฟ, การก่อไฟ.
อภิวาหยติ : ก. ถ่ายถอน, ปัดเป่า
อุสฺเสฬฺเหติ : ก. เป่านกหวีด, เป่าปาก
ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
อภิปาเตติ : ก. ให้ตกไป, ขว้าง, ปา
ปาการ : ป. ป้อม, ปราการ, กำแพง
ปาการปริกฺขิตฺต : ค. ซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ
ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
ปาการิฏฺฐิกา : อิต. อิฐที่ก่อกำแพง
ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
ปากุล : ค. อากูล, คั่งค้าง, ไม่สำเร็จ, ยุ่งเหยิง
ปาคุญฺญตา : อิต. ความชำนาญ, ความฉลาด
ปาคุส : ป. ปลาชนิดหนึ่งตัวใหญ่ปากใหญ่
ปาจก : ค. ผู้หุงต้ม, ผู้ปรุงอาหาร
ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
ปาจาเปติ : ค. ให้หุงต้ม, ให้ปรุงอาหาร