Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป้านิ่ง, เป้า, นิ่ง , then นง, นิ่ง, เบ้า, ปา, ปานง, เป้, เป้า, เป้านิ่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป้านิ่ง, 629 found, display 1-50
  1. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  2. อสทฺท : (วิ.) ไม่มีเสียง, นิ่ง, สงบ, เงียบ.
  3. จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
  4. ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
  5. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  6. ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
  7. สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
  8. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  9. ตุณฺหิกฺขก : ค. นิ่ง, เงียบ, ไม่มีเสียง, ดุษณี
  10. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  11. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  12. ขนฺติก : ค. ผู้อดทน, ความนิ่งเฉย
  13. จกฺกวิทฺธ : นป. ศิลปะแทงจักร, วิธีการยิงลูกศรไปยังเป้าหมายต่างๆ ซึ่งอยู่เป็นวงล้อมให้ลูกศรทะลุเป้าหมายเหล่านั้นแล้วกลับมาตั้งอยู่ในมือของผู้ยิง
  14. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  15. ตุณฺหีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีความนิ่งเป็นแล้ว, เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว.
  16. นิรุมฺภติ : ก. ปราบปราม, ระงับ, ทำให้เงียบ, นิ่งเงียบ
  17. ปนฺนก : ค. ผู้เงียบ, ผู้นิ่ง
  18. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  19. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  20. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  21. สรวฺย : นป. เป้า, เครื่องหมาย
  22. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  23. อภาสน : (นปุ.) การไม่พูด, ความนิ่ง.
  24. อวติฏฺฐติ : ก. ตั้งลง, ยึดมั่น, ยืนนิ่ง
  25. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  26. อุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ทำให้ฟุ้งขึ้นแล้ว, ไม่สงบนิ่งแล้ว
  27. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  28. ปาจี : ค. ดู ปาจก
  29. ปาเจติ : ก. ดู ปาจาเปติ
  30. ปาชิตุ : ป. ดู ปาชิก
  31. ปาโททร : ป. ดู ปาทูทร
  32. ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
  33. ปานียมาลก : นป. ดู ปานมณฺฑล
  34. ปาปกรณ : นป. ดู ปาปกมฺม
  35. ปาโมชฺช : นป. ดู ปามุชฺช
  36. ปายี : ค. ดู ปายก
  37. ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
  38. ปาเรวต : ป. ดู ปาราปต
  39. อภิปาเตติ : ก. ให้ตกไป, ขว้าง, ปา
  40. ปาการ : ป. ป้อม, ปราการ, กำแพง
  41. ปาการปริกฺขิตฺต : ค. ซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ
  42. ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
  43. ปาการิฏฺฐิกา : อิต. อิฐที่ก่อกำแพง
  44. ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
  45. ปากุล : ค. อากูล, คั่งค้าง, ไม่สำเร็จ, ยุ่งเหยิง
  46. ปาคุญฺญตา : อิต. ความชำนาญ, ความฉลาด
  47. ปาคุส : ป. ปลาชนิดหนึ่งตัวใหญ่ปากใหญ่
  48. ปาจก : ค. ผู้หุงต้ม, ผู้ปรุงอาหาร
  49. ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
  50. ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-629

(0.0839 sec)