โอทหติ : ก. ตั้งลง, วางลง, เติม, นำมา, เพิ่ม, ตั้งใจ
ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
อนุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มเติม, การเพิ่มให้.อา+อุป+ทานนฺอาคม.
อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
ตม (โม) นทฺธ, ตมนิวุต : ค. อันความมืดหุ้มห่อไว้, ถูกความมืดปกคลุมไว้, อันตกอยู่ในความมืด
ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
ปทาน : (นปุ.) การให้, การเพิ่มให้. ป+ทา+ยุ ปัจ.
ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
พหลตฺต : นป. ความหนา, ความมีมาก; การเพิ่มขึ้น
สงฺกลน : นป. การบวก, การเพิ่ม, การเก็บ
สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
สุเมรุ : (ปุ.) สุเมรุ ชื่อภูเขา, ภูเขาสุเมรุ. วิ. มินาติ สพฺเพ ปพฺพเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. ที่เป็น สุเมรุ เพราะเพิ่มอุปสรรค สุ. อุปสคฺเคน วฑฺฒิตํ. ส. สุเมรุ.
อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
อคฺฆวฑฺฒน : (นปุ.) การเพิ่มราคา, การขี้นราคา.
อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
อธิกรสุทิน : (นปุ.) อธิกสุรทิน.คือวันที่เพิ่มขึ้นทางสุริยคติอีก ๑ วันท้ายเดือนกุมภาพันธ์ปีนั้นเดือนกุมภาพันธ์จึงมี ๒๙ วัน
อธิกวาร : (ปุ.) วันเกิน, วันที่เพิ่มเข้ามา, อธิกวารคือวันที่เพิ่มเข้ามาทางจันทรคติอีก ๑ วันท้ายเดือน ๗ ปีนั้นเดือน ๗ จึงมี๓๐ วัน.
อนุททาติ : ก. ยอมให้, เพิ่มให้ ; อนุญาต
อนุปทินฺน : กิต. มอบให้, เพิ่มให้, อุทิศ
อนุปเทติ : ก. เพิ่มให้, อุดหนุน
อนุปฺปทชฺชุ : ก. พึงเพิ่มให้, พึงสนับสนุน, พึงมอบให้
อนุปฺปทาติ : ก. เพิ่มให้, สนับสนุน, มอบ, บริจาค
อนุปฺปทาตุ : ป. ผู้เพิ่มให้, ผู้สนับสนุน, ผู้มอบให้
อนุปฺปทาน : นป. การเพิ่มให้, การสนับสนุน, การมอบให้
อนุปฺปทินฺน : กิต. ถูกเพิ่มให้, ถูกมอบให้
อนุปเวจฺฉติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
อนุพลปฺปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่งกำลังโดยลำดับ, การตามเพิ่มกำลังให้.
อภิกฺกมติ : ก. ก้าวไป, ล่วงไป, เพิ่มขึ้น
อภิวุทฺธิ : อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความเพิ่มขึ้น
อุตฺตโรตฺตร : ก. วิ. ยิ่งๆ ขึ้น, เพิ่มขึ้นๆ
อุเทติ, - ทยติ : ก. ขึ้นไป, เกิดขึ้น, เพิ่มขึ้น
อุปพฺรูหน : นป. ความเจริญ, การเพิ่มขึ้น, การขยายตัว
อุปาหาร : ป. การนำเข้ามา, การเพิ่มเข้ามา
เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
ตม (โม) นุท : ค. ผู้บรรเทาความมืด, ผู้ขจัดความมืด
ตมขนฺธ : ป. ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ
ตมปรายน : ค. มีความมืดเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีความมืดต่อไปคือไปสู่ทุคติ
ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
โคตม : (ปุ.) พระอาทิตย์ (สว่างที่สุด). โค (แสงสว่าง รัศมี) ตม ปัจ.
พหุตฺตม : (วิ.) มากที่สุด. พหุ+ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ.
อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
อญฺญตม : (ไตรลิงค์) คนใดคนหนึ่ง, อญฺญศัพท์ลงตมสกัด.