อุสฺสกฺกติ : ก. ตะเกียกตะกายขึ้น, เพียรพยายาม
ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
อายูหติ : ก. พยายาม, เพียร, สั่งสม, พอกพูน, ประกอบ, กระทำ
อีหติ : ก. พยายาม, เพียร, ขยัน, ใฝ่ใจ, คิด, รู้
อุยฺยมติ : ก. พยายาม, เพียร
ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
อโยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
อวิริย : ค. ไม่มีความเพียรพยายาม
อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
อายูหก : ค. ผู้มีความเพียรพยายาม, ผู้มีความบากบั่น
อารมฺภ : (ปุ.) ความเริ่มต้น, ความริเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความปรารภ, ความเพียร, การเริ่ม, การเริ่มต้น, ฯลฯ.อาบทหน้ารภฺธาตุในความเริ่มพยายามอปัจ. นิคคหิตอาคม.
อีหน : นป. อีหา อิต. ความเพียรพยายาม, ความขยัน, ความดำริ, ความรู้
อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
อุฏฐหน : นป. ความลุกขึ้น, ความเพียรพยายาม, ความขยัน
อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
อุฏฐายิกา : อิต. ความเพียรพยายาม, ความบากบั่น
อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
อุยฺยุตฺต : ค. พยายามแล้ว, เพียรประกอบแล้ว, ขวนขวายแล้ว, ถูกส่งไปแล้ว
อุสฺโสฬฺหิกา : อิต. มีความพยายาม, มีความเพียร
นิกฺกมติ : ก. ก้าวต่อไป, พยายาม
ปคฺคห : ป. การยกย่องประคับประคอง, อุปถัมภ์, เพียร
ปริยุฏฺฐาติ : ก. ลุกขึ้น, แผ่ซ่าน, พยายาม
พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
ยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ก่อ, พยายาม
อนุปริสกฺกติ : ก. เวียนรอบๆ, ตะเกียกตะกาย, พยายาม
อารพฺภติ, อารภติ : ก. ทำ, ปรารภ, เริ่มต้น; พยายาม ; ร้ายกาจ, ประหาร, ต้องโทษ
อิริยติ : ก. เคลื่อนไป, ย้ายไป, พยายาม, ปฏิบัติ
อุฏฐหติ : ก. ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ก่อ, พยายาม, ขยัน
อุตฺติฏฐติ : ก. ลุกขึ้น, ยืนขึ้น; พยายาม
อุปกฺกมติ : ก. ก้าวเข้าไปใกล้, พยายาม, ลงมือทำ
อุยฺยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ขวนขวาย, เพียร; ส่งไป
อุสฺสหติ : ก. อุตสาหะ, เพียร; อาจ, สามารถ
อุสฺสุกฺกติ : ก. ความขวนขวาย, พยายาม
เอสติ : ก. ค้นหา, แสวงหา, พยายาม
ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
วฺยายาม : ป .ความพยายาม
กายปโยค : ก. การประกอบทางกาย, ความพยายามทางกาย
กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
โครณ : นป. ความพยายาม, การฝึกฝน
ฆฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อประสาน, ประยุกต์
ฆฏยติ : ก. ให้พยายาม, ให้สืบต่อ
ฆฏิต : ค. อันพยายามแล้ว, อันสืบต่อแล้ว
ฆฏียติ : ก. อันเขาพยายาม, อันเขาสืบต่อ
ฆเฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อเนื่อง
ฉนฺทิก : ค. มีความพอใจ, มีความพยายาม
ฉนฺทีกต : อิต. มีความพอใจ, มีความพยายาม
ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.