สหจร : (ปุ.) คนเที่ยวร่วมกัน, คนเที่ยวไปด้วยกัน, คนไปด้วยกัน (ผู้ร่วมทาง), เพื่อน, สหาย, การไปร่วมกัน, การเที่ยวไปร่วมกัน, ฯลฯ. ส. สหจร.
สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง;
๒. นป. ต้นโกฐ;
๓. ป. นกเปล้า
ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
สุหท : ป. ผู้มีใจดี, เพื่อน
อนฺวายิก : ค. ผู้ไปตาม, เพื่อน
อนุมิตฺต : ป. อนุมิตร, ผู้ติดตาม, สหาย, เพื่อน
อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
อวกาส, โอกาส : ป. โอกาส, ช่องทาง, ห้อง
ทุติยา : (อิต.) ภรรยา, ภริยา, เมีย, ความเป็น เพื่อน.
วยสฺส : ป. เพื่อน
สข, สขี : ป. เพื่อน
สนฺทิฏฺฐ : ๑. ป. เพื่อน ;
๒. กิต. เห็นกันแล้ว
สมฺปวงฺก : (ปุ.) บุคคลผู้ยังตนให้เงื้อมไป, บุคคลผู้คล้อยตาม, เพื่อน. สํ ปปุพฺโพ, วกิ คติยํ, อ.
สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
สิเนหก : (ปุ.) เพื่อน (ผู้มีความรัก, ฯลฯ). ณฺวุปัจ.
กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
กณฺโฑลิกา : อิต. กระเช้าหวาย, กระจาด, ห้องเก็บของ
กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
กลฺยาณมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนดี, เพื่อนแท้.
กลฺยาณสมฺปวงฺก : ป. เพื่อนที่ดีงาม
กลฺยาณสมฺปวงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้มีเพื่อนที่ดีงาม
กุฏี : อิต. กระท่อม, ห้องเล็ก, เพิง
กุมิตฺต : ป. มิตรเลว, เพื่อนชั่ว
โกฏฐก : นป. ซุ้ม, ป้อม, ที่หลบซ่อน, ห้องเก็บของ, ยุ้ง, ฉาง
คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
คพฺภทฺวาร : นป. ประตูห้อง
คพฺภสหสฺสปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับแล้วด้วย พันแห่งห้อง.
คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
จิตฺตสหภู : ค. ซึ่งมีพร้อมกับจิต, ซึ่งเกิดร่วมกับจิต
จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
เจติยคพฺภ : ป. ห้องแห่งเจดีย์, ห้องเจดีย์, บริเวณภายในองค์เจดีย์
ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ตณฺหาทุติย : (วิ.) มีตัณหาเป็นที่สอง, มีตัณหา เป็นเพื่อน.
เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
ทฺวนฺท : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน (เรื่อง ของคนคู่)
ทฺวิพนฺธุ : ค. ผู้มีพวกพ้องสอง, ผู้มีเพื่อนสองคน
ทฬฺหมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนผู้มั่นคง, เพื่อนคบกันมั่นคง.
ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
ทิฏฺฐมตฺตก : ป. เพื่อนที่สักว่าพบกัน, เพื่อนเห็น
ทีปคพฺภก : นป. ห้องพัก
ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
ธาราเคห : (นปุ.) เรือนมีท่อน้ำ, ห้องสำหรับอาบน้ำ, ห้องอาบน้ำมีผักบัว.
นมสฺสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การนอบน้อม, การเคารพ; เพื่อนอบน้อม, เพื่อเคารพ