สหจร : (ปุ.) คนเที่ยวร่วมกัน, คนเที่ยวไปด้วยกัน, คนไปด้วยกัน (ผู้ร่วมทาง), เพื่อน, สหาย, การไปร่วมกัน, การเที่ยวไปร่วมกัน, ฯลฯ. ส. สหจร.
สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
ปาฐสาลา : อิต. สถานที่ศึกษา, โรงเรียน
มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
สุหท : ป. ผู้มีใจดี, เพื่อน
อนฺวายิก : ค. ผู้ไปตาม, เพื่อน
อนุมิตฺต : ป. อนุมิตร, ผู้ติดตาม, สหาย, เพื่อน
อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
ทุติยา : (อิต.) ภรรยา, ภริยา, เมีย, ความเป็น เพื่อน.
วยสฺส : ป. เพื่อน
สข, สขี : ป. เพื่อน
สนฺทิฏฺฐ : ๑. ป. เพื่อน ;
๒. กิต. เห็นกันแล้ว
สมฺปวงฺก : (ปุ.) บุคคลผู้ยังตนให้เงื้อมไป, บุคคลผู้คล้อยตาม, เพื่อน. สํ ปปุพฺโพ, วกิ คติยํ, อ.
สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
สิเนหก : (ปุ.) เพื่อน (ผู้มีความรัก, ฯลฯ). ณฺวุปัจ.
สิปฺปสาลา : อิต.โรงเรียน
กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
กลฺยาณมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนดี, เพื่อนแท้.
กลฺยาณสมฺปวงฺก : ป. เพื่อนที่ดีงาม
กลฺยาณสมฺปวงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้มีเพื่อนที่ดีงาม
กุมิตฺต : ป. มิตรเลว, เพื่อนชั่ว
คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
จิตฺตสหภู : ค. ซึ่งมีพร้อมกับจิต, ซึ่งเกิดร่วมกับจิต
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ตณฺหาทุติย : (วิ.) มีตัณหาเป็นที่สอง, มีตัณหา เป็นเพื่อน.
เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
ทฺวนฺท : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน (เรื่อง ของคนคู่)
ทฺวิพนฺธุ : ค. ผู้มีพวกพ้องสอง, ผู้มีเพื่อนสองคน
ทฬฺหมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนผู้มั่นคง, เพื่อนคบกันมั่นคง.
ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
ทิฏฺฐมตฺตก : ป. เพื่อนที่สักว่าพบกัน, เพื่อนเห็น
ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
นมสฺสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การนอบน้อม, การเคารพ; เพื่อนอบน้อม, เพื่อเคารพ
นานาสวาส : ป., ค. การอยู่ร่วมโดยมีธรรมวินัยต่างกัน, มีสังวาสต่างกัน
นานาสวาสก : ค. ผู้อยู่ร่วมในธรรมวินัยต่างกัน, ผู้อยู่ในคณะต่างกัน
นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง,
๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
นิรยสวตฺตนิก : ค. อันยังสัตว์ให้เป็นไปเพื่อนรก
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
ปฏิจฺจสมุปฺปนฺน : ค. ซึ่งอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน
ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ
๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
ปฏิวิสฺสก : ป., ค. คนคุ้นเคย, เพื่อนบ้าน; ผู้เป็นเพื่อนบ้าน
ปาปมิตฺต : ๑. ป. มิตรชั่ว, เพื่อนเลว, สหายไม่ดี;
๒. ค. มีคนชั่วเป็นมิตร
ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)