เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
มุตฺต : (นปุ.) ปัสสาวะ, น้ำมูตร, น้ำเบา, น้ำเยี่ยว, เยี่ยว. มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต. มุตฺตฺ ปสฺสาเว วา, อ. มิหฺ เสจเน วา. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ หฺ แปลง อิ เป็น อุ.
เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
อนุกมฺปติ : ก. สงสาร, อนุเคราะห์, เมตตา
พิฬารนิสฺสกฺกน (มตฺต) : ค. (ที่มีประมาณ) พอแมวลอดได้
มตฺต : (วิ.) อิ่ม, ชื่นชม, ยินดี. มทฺ วิตฺติโยเค, โต, ทสฺส โต.
มตฺต มตฺตหตฺถี : (ปุ.) ช้างซับมัน. มทฺ อุมฺมาเท, โต.
มุตฺติ : (อิต.) มุตติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
เมตฺตมฺพเสกวิธิ : (ปุ.) พิธีอันรดลงด้วยน้ำ คือ เมตตา.
ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
มาตุลุงฺค : (ปุ.) มะงั่ว วิ. มตฺโต ลุชฺชติ อเนนาติ มาตุลุงฺโค. มตฺตปุพฺโพ, ลุชฺ วินาเส, อ. มะกรูด มะนาว ก็แปล.
เมตฺตจิตฺต : (นปุ.) จิตประ กอบด้วยเมตตา.
เมตฺตาจิตฺต : ค. มีจิตเมตตา
เมตฺตาวิหารี : ค. ผู้อยู่ในความรักความเอ็นดู, มีเมตตา
อนุกมฺปก, อนุกมฺปี : ค. ผู้มีความเอ็นดู, ผู้มีเมตตา
อนุกมฺปน : นป. อนุกมฺปา อิต. ความเอ็นดู, ความเมตตา, ความสงสาร