มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
มารเสนา : (อิต.) มารและเสนาแห่งมาร. มาร+มารเสนา ลบ มาร ศัพท์หลัง.
มารกายิกา : ค. ประกอบด้วยหมู่มาร
มารเธยฺย : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งแห่งมาร, ที่อันมารพึงทรงไว้, ที่อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่ากิเลสวัฏเป็นที่ทรงแห่งมาร, วัฏฏะเป็นที่ตั้งแห่งมาร, บ่วงแห่งมาร.
มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
กมฺมาร : (ปุ.) บุคคลผู้ยังน้ำให้ตาย. ก + มาร.
กมฺมารปุตฺต : (ปุ.) บุตรของนายช่างทอง, ช่างทอง. กมฺมารปุตฺโต วุจฺจติ สุวณฺณกาโร. ไตร. ๓๐/๗๑๖.
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
มารชิ มารชี : (ปุ.) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง วิ. กิเลสาทิเก ปญฺจมาเร อชินีติ มารชิ. มารปุพฺโพ, ชิ ชี ชเย, กฺวิ.
วสวตฺตี : ป. ผู้ยังสัตว์ให้อยู่ในอำนาจ; มาร
อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
กมฺมารภณฺฑ : นป. เครื่องมือของช่างเหล็ก
กมฺมารสาลา : อิต. โรงหล่อ, โรงเหล็ก
กมฺมารห : ค. อันควรแก่กรรม, ผู้ควรแก่กรรม
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารภจฺจา : อิต. นางผดุงครรภ์, คนดูแลเด็ก
กุมารลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะเด็ก
โกมาร, - รก, - ริก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในวัยรุ่นหนุ่มสาว
ทหรกุมาร : (ปุ.) กุมารเด็ก, เด็กเล็ก.
เทววิมาร : นป. วิมานของเทวดา
สุสุมาร : ป. จระเข้
อปมารอปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู.วิ.อปคโตสาโรเยนโสอปมาโรอปสฺมา-โรวา.ศัพท์แรก แปลงส เป็น มศัพท์หลังลงมฺอาคมท่ามกลาง.
อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู.
อภิมาร : ป. โจร, นักปล้น, ผู้ทำลาย
อุมฺมาร : (ปุ.) ธรณี, ธรณีประตู. อุรฺ คติมฺหิ, มาโร. แปลง รฺ เป็น มฺ.
นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
ปมตฺตพนฺธุ : (ปุ.) ปมัตตพันธุ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร.
มทน : (ปุ.) มทนะ ชื่อของกามเทพ ชื่อของมาร, กามเทพ, มาร. วิ. ปญฺจสุ กามคุเณสุ มทตีติ มทโน.
อนงฺค : (ปุ.) มาร.ส.อนงฺคว่านาง, นางงามพระกามเทพ.
กิเลสมาร : (ปุ.) มารคือกิเลส, กิเลสมาร. กิเลสมาร เป็นมารที่ ๒ ในมาร ๕ และ เป็นมารที่สำคัญที่สุด.
คิริเมขล : (ปุ.) คิริเมขละ ชื่อช้างที่พญามารขี่ มาผจญพระพุทธเจ้า.
ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
มายา : (อิต.) มายา ชื่อพระมารดาของพระสิทธัตถกุมาร.
มารชิ : ป. ผู้ชนะมาร, พระพุทธเจ้า
มารพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกของมาร, เครื่องมัดของมาร, บ่วงของมาร, เครื่องผูกคือมาร, ฯลฯ.
มาราธิราช : (ปุ.) มารผู้เป็นใหญ่ยิ่งกว่ามาร, มารผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, พญามาร.
รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
สิริมา : (อิต.) สิริมา ชื่อหญิงผู้เป็นน้องสาวของหมอชีวกโกมารภัจ.
อมจฺจุเธยฺย : นป., ค. ไม่ใช่บ่วงของมาร, ไม่ใช่เขตของความตาย
อมารเธยฺย : ค. ผู้ไม่อยู่ในบ่วงของมาร, ผู้ไม่อยู่ในอำนาจของมาร
อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
อาวฏฺฏน : นป. ความวนเวียน, ความงงงวย, เครื่องล่อ, การถูกมารดลใจ