มา : (อิต.) บริษัท, สิริ, มารดา.
เม : ส. แก่ข้าพเจ้า
ขิว : (วิ.) เมา
คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
มชฺช : (วิ.) อัน...พึงเมา วิ. มชฺฌิตพฺพนฺติ มชฺชํ. มทฺ อุมฺมาเท, โณฺย. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
กามมตฺต : ค. ผู้เมาในกาม
ขีว : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, ความประมาท. ขีวุ มเท, อ.
คชฺช : (ปุ.) ภาวะเกิดที่ช้าง (คือความเมา) วิ. คเช ชายตีติ คชฺโช. มโท. ณฺย ปัจ.
ชโลคิ : นป. น้ำตาลเมา
ติตฺติ : (อิต.) ความขม, ความเบื่อเมา. ติ ปัจ.
ติตฺติก : (วิ.) มีรสขม, มีรสเบื่อเมา.
ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
โภคมท : ป. ความเมาในสมบัติ
มชฺชติ : ก. เมา, มัวเมา, เช็ด, กวาด
มทนิมฺมทน : (ปุ.) ความย่ำยีความเมา, การยังความเมาให้สร่าง.
มทฺนิมฺมทน : (วิ.) อันยังความเมาให้สร่าง, หมดเมา, หายเมา.
มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
มาท : (ปุ.) ความเมา, ความจองหอง. มทฺ อุมฺทาเท, โณ.
มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
สมฺมตฺต : กิต. เมาแล้ว, ชอบใจแล้ว
อโสณฺฑ : ค. ผู้ไม่เมา, ผู้ไม่เป็นนักเลงสุรา
อโสณฺฑี : อิต. ผู้ไม่เมา, ผู้ไม่เป็นนักเลงสุรา
อุมฺมาท : (วิ.) เมา, มัวเมา, ประมาท, เลินเล่อ, คลั่ง, บ้า.
เอฬคล : (ปุ.) ชุมเห็ด มีสองชนิด ชุมเห็ดไทย ใบเล็ก ชุมเห็ดเทศใบใหญ่ มีรสเบื่อเมา เป็นสมุนไพร. วิ. เอฬคํ ททฺทุ ลุนาตีติ เอฬคโล. เอฬคปุพฺโพ, ลา เฉทเน, อ.
มาตลี : (ปุ.) มาตลี ชื่อเทพบุตรผู้เป็นสารถีของรถพระอินทร์ วิ. มาตลาย อปจฺจํ มาตลี. ณี ปัจ. มา มาตา วิย สตฺตานํ หิตสุขํตลตีติ วา มาตลี. มาปุพฺโพ, ตลฺ ปติฏฺฐายํ, ณี.
สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
มาควิก : (นปุ.) พรานเนื้อ วิ. มเค หนฺตฺวา ชีวตีติ มาควิโก. ณิก ปัจ. วฺ อาคม รูปฯ ๓๖๐.
มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
มาติย : (ปุ.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, วิ. มาติโต สมฺภูโต มาติโย. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑.
มาตุจฺฉา : (อิต.) ป้า, น้า (พี่น้องหญิงของแม่). วิ. มาตุยา ภคินี มาตุจฺฉา. จฺฉ ปัจ. อา อิต.
มาตุล : (ปุ.) ลุง, น้า (พี่ชาย น้องชายของแม่). วิ. มาตุยา ภาตา มาตุโล. อุล ปัจ.
มาตุลุงฺค : (ปุ.) มะงั่ว วิ. มตฺโต ลุชฺชติ อเนนาติ มาตุลุงฺโค. มตฺตปุพฺโพ, ลุชฺ วินาเส, อ. มะกรูด มะนาว ก็แปล.
มานุส : (ปุ.) เหล่ากอของพระมนู, ลูกหลานของพระมนู, คน, ชาย, ผู้ชาย. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานุโส. ณ ปัจ. โคตตตัท. สฺ อาคม รูปฯ ๓๕๖.
มานุสฺสก : (ปุ.) ประชุมแห่งมนุษย์, หมู่แห่งมนุษย์. วิ. มนุสฺสานํ สมุโห มานุสฺสโก. กณฺ ปัจ. รูปฯ ๓๖๔.
เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
เมธงฺกร : (ปุ.) เมธังกร พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. วิ. เมธํ กโรตีติ เมธงฺกโร.
มาตงฺคมุทฺธปิณฺฑ : (ปุ.) น้ำเต้าแห่งช้าง ชื่อ อวัยวะส่วนนูนที่อยู่โคนงวงช้าง.
มาตาเปติก : ค. เป็นของมารดาและบิดา
มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
มาตามหยฺยิกา : (อิต.) ยายทวด (แม่ของตา แม่ของยาย).
มาติปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายข้างมารดา.
มาตุกุจฺฉิ : อิต. ครรภ์มารดา
มาตุปฏฺฐาน : (นปุ.) การบำรุงมารดา.
มานภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องชั่งของ.
มานว : (ปุ.) ชาย, ผ้ชาย, คน, บุคคล. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานโว. ณว ปัจ. รูปฯ ๓๕๖.
มานานุสย : (ปุ.) กิเลสเป็นที่มานอน คือ มานะ, กิเลสที่นอนเนื่องในสันดานคือมานะ.