มณฺฑิร :
(ปุ. นปุ.) เรือน, เรือนหลวง, นคร, เมือง, เมืองหลวง, กรุง, ที่อยู่, มณเฑียร, ดู มนฺทิร ด้วย.
นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
ปุรี : (อิต.) วัง, เมือง, เมืองหลวง, นคร, พระนคร. ปุร+อี อิต.
อาสิต : ๑. นป. ที่นั่ง; เมือง;
๒. กิต. ผูกพันแล้ว, รึงรัดแล้ว
อุม : (นปุ.) ป่า, เมือง, ท่าเรือ. อมฺ คติยํ, อ, อสฺสุ. อุปุพฺโพ วา, มกฺ ปาเน, กฺวิ, ลบ กฺ.
โคปุร : (นปุ.) ประตูเมือง, ซุ้มประตู, ซุ้มประตู เมือง. วิ. คุณฺณํ วาจานํ ปุรํ โคปุรํ.
ฐานีย : (นปุ.) เมือง วิ. ฐานาย หิตํ ฐานียํ, อีย ปัจ.
อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
กฏฐวาหน : นป. พาหนะไม้ ; ชื่อเมืองเมืองหนึ่ง
กปิลวตฺถุ : (นปุ.) เมืองเป็นที่อยู่ของฤาษีชื่อ กปิละ, เมืองชื่อกบิลพัสดุ์, เมืองกบิลพัสดุ์. วิ. อาทิกาเล กปิลนามกสฺส อิสิโน นิวาส นฏฺฐนตฺตา กปิลวตฺถุ.
กาปิลนี : อิต. หญิงชาวเมืองกบิลพัสดุ์
กาปิลวตฺถว : ค. เป็นชาวเมืองกบิลพัสดุ์
กุกฺกุฏวตี : (อิต.) กุกฺกุฏวตี ชื่อเมือง.
กุญฺชรวร : ป. ช้างตัวประเสริฐ, ช้างมิ่งเมือง
โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
คณิกา :
อิต. ๑. หญิงงามเมือง, หญิงเพศยา;
๒. ดู คณนา
คณิ คณี โคกณฺณ : (ปุ.) กวาง. ละมั่งก็แปล. งามเมือง, หญิงแพศยา (หญิงหากินใน ทางค้าประเวณี).
คเณรุ : อิต. หญิงงามเมือง, หญิงแพศยา; ช้างพัง
คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
จมฺปก : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, จัมปกะ ชื่อเมืองในแคว้นมคธ.
จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
จีน : (ปุ.) ผ้าเมืองจีน, จีนะ ชื่อเนื้อชนิดหนึ่ง.
ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
ฐานีย : ๑. นป. พระนคร, เมืองหลวง;
๒. ค. อันควรแก่การตั้งใจ, อันควรแก่ตำแหน่ง
ตโปทา : (อิต.) ตโปทา ชื่อแม่น้ำในเขตเมือง ราชคฤห์.
ติทสปุร : ป. เทวบุรี, เมืองเทวดา
ทณฺฑนิติ ทณฺฑนีติ : (อิต.) ทัณฑนิติศาสตร์ ตำราว่าด้วยกิจการบ้านเมือง ตำราว่าด้วย การลงทัณฑ์.
ทฺวารคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ประตูเมือง, หมู่บ้านนอกประตูเมือง
ทฺวารวตี : (อิต.) ทวาราวดี ชื่อเมือง. ไตร. ๓๒/ ๒๙๕ เป็น ทวารวตี
ทสกณฺฐ : (ปุ.) ทศกัญฐ์ ทศกรรฐ์ ชื่อยักษ์ ผู้มีสิบคอ ซึ่งเป็นเจ้าเมืองลงกาใน เรื่องรามายณะ (รามเกียรติ์).
ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
เทวนคร : นป. เทวนคร, เมืองสวรรค์
เทวปุร : นป. เทวบุรี, เมืองเทวดา, เมืองสวรรค์
เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
ธนาธานี : (อิต.) เมืองแห่งทรัพย์, เมืองเป็นที่ เก็บซึ่งทรัพย์, คลังที่เก็บทรัพย์, คลังที่ เก็บสินค้า, คลังสินค้า, กุดังสินค้า, โกดังสินค้า.
ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
ธานี : (นปุ.)เมือง,ธานี,ธานิน.ธาธารเณ,โน,อิตฺถิยํอี.ศัพท์หลังนิยปัจ.ธานีเมื่อเข้าประโยคจะเป็นศัพท์สมาสเสมออุ.ราชธานี.ส.ธานี.
นครก : นป. เมืองเล็กๆ , นครน้อยๆ
นครกถา : อิต. การพูดถึงเรื่องเมือง
นครคุตฺติก : ป. เจ้าเมือง, ผู้ครองเมือง, นายกเทศมนตรี
นครวร : นป. นครที่ประเสริฐ, เมืองที่ประเสริฐ, เมืองเจริญ
นครวิถี : อิต. นครวิถี, ถนนในเมือง, ทางเดินในเมือง
นครโสธก : ป. ผู้ทำความสะอาดเมือง
นครโสภินี : (อิต.) หญิงผู้ยังนครให้งาม วิ. นครํ โภเภตีติ นครโสภิณี. หญิงผู้งามในนคร วิ. นคเร โสภิณี นครโสภิณี. หญิง งามเมือง, หญิงคนชั่ว, หญิงแพศยา, หญิงนครโสภิณี, หญิงนครโสเภณี. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ เป็น นครโสภินี.
นครูปการิกา : อิต. เมืองที่มีกำแพงล้อมรอบอย่างมั่นคง