เรณุ : ป.,อิต. ผง, ฝุ่น, ละออง
รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
รณรงฺค : (ปุ.) การไปสู่ที่ เป็นที่รบ, การถึงซึ่งที่เป็นที่รบ, รณ+องฺค (การไป) รฺ อาคม. การรบ, สนามรบ. รณ ลง องฺค สกัด. คำ ณรงค์ที่ไทยใช้ตัดมาจาก รณฺรงฺค.
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
สมีร สมีรณ : (ปุ.) ลม วิ. สมนฺตโต อีรติ กมฺปติ ขิปติ รุกฺขาทโยติ สมีโร. สนฺตํ นิจฺจลํ อีรยติ กมฺเปตีติ สมีรโร. อีรฺ กมฺปเน, อ, ยุ. ส. สมีร. สมีรณ.
อปาปุรณอปาปูรณ : (นปุ.) กุญแจ, ดาล, ดาฬ(กลอนประตู).ดูอวาปูรณด้วย.
อปาปุรณ อปาปูรณ :
(นปุ.) กุญแจ, ดาล, ดาฬ (กลอนประตู). ดู อวาปูรณ ด้วย.
อวตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, การหยั่งลง.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, ยุ.ส.อวตรณ.
อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กนฺตารนิตฺถรณ : นป. การข้ามทางกันดาร
กลหการณ : นป. เหตุแห่งการทะเลาะ
กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
กึการณ : (นปุ.) เหตุอะไร.
คมนการณ : นป. เหตุแห่งการไป
คีวาภรณ : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, สายสร้อย, สายสร้อยคอ.
โครณ : นป. ความพยายาม, การฝึกฝน
จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
จิตฺติกรณ : (วิ.) ตระการ, สวยงาม, งดงาม, วิจิตร.
จีวรวิจารณสิพฺพนาทิสมณปริกฺขาราภิสงฺขรณ : (นปุ.) การตกแต่งซึ่งบริขารของสมณะมี การกะและการเย็บซึ่งจีวรเป็นต้น.
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
โฉรณ : นป. การตัด, การทำให้ขาด, การบั่น, การทอน, การฉีก
ตวการณ : (นปุ.) เหตุแห่งท่าน.
ติริยตรณ : นป. การข้ามอย่างขวางๆ
ตีรณ : นป. การพิจารณา, การไตร่ตรอง, การตัดสิน
ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
ตีรณปริญฺญา : (อิต.) ความรอบรู้อันเกิดจาก การตรวจตรา, ความรอบรู้อันเกิดเพราะ ความตรวจตรา, ฯลฯ, ความกำหนดรู้ด้วย การตรวจตรา, ฯลฯ.
เถยฺยกรณ : (นปุ.) การลัก, การขโมย.
ทนฺตวรณ : นป. ริมฝีปาก
ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
ทฺวารโตรณ : นป. เสาระเนียดประตู
ทานุปกรณ : นป. อุปกรณ์แห่งทาน, เครื่องถวายทาน
ทารภรณ : นป. การเลี้ยงดูภรรยา
ทุกฺขการณ : นป. เหตุแห่งทุกข์, ความทุกข์ที่จะต้องได้รับการลงโทษ
นขทารณ : (ปุ.) นกผู้มีเล็บเป็นเครื่องทำลาย สัตว์อื่น, นกผู้ทำลายสัตว์อื่นด้วยเล็บ, เหยี่ยว ชื่อนกจำพวกหนึ่งมีหลายชนิด มีเล็บยาวและคม โฉบสัตว์ที่เล็กกว่ากิน เป็นอาหาร.
นงฺคลผาลาทิอุปกรณปูร : (วิ.) อันเต็มด้วย อุปกรณ์มีไถและผาล เป็นต้น.
นาถกรณ : นป. การกระทำที่พึ่ง
นานากรณ : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องกระทำ ต่างๆกัน.
นิกฺการณ : ค. ไม่มีเหตุ, ปราศจากเหตุ
นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ