เร : อ. โว๊ย, เว้ย
อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ;
๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
มญฺเญ : (อัพ. นิบาต) เห็นจะ, ทำนอง, บางที, ราวกะ, ดังเราจะกริ่งมโนนัย.
มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
มย : ส. เราทั้งหลาย
มาทิกฺข มาทิส มาที มาริกฺข มาริส : (วิ.) ผู้เช่นกับด้วยเรา, ผู้เช่นเรา. วิ. มมิว นํ ปสฺสตีติ มาทิกฺโข. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ วา มาทิกฺโข. อมฺห บทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. แปลง อมฺห เป็น ม ทีฆะ รูปฯ ๕๗๒.
มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
อมฺหาก : ส. แห่งเราทั้งสอง
อมามก : ค. ไม่ใช่ของเรา, ไม่เป็นของเรา
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
อโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อนิจจา, พุทโธ่, ดังเราชม, ดังเราติเตียน, น่าอัศจรรย์หนอ.
อิงฺฆ : อ. เตือน; เชิญ ; คำสั่ง, เชิญเถิด, เอาเถิด, ดังเราตักเตือน
อึฆ อิงฺฆ : (อัพ. นิบาต) เชิญ, เชิญเถิด, เอา เถิด, ดังเราเตือน, ดังเราตักเตือน.
อุตฺตราวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเดินเวียนซ้าย คือ การเดินเวียนโดยมือซ้ายอยู่ทาง (ด้าน) สิ่งที่เรา เวียน, อุตราวัฏ. ส. อุตฺตรวฺฤตฺต.
ราชกกุธภณฺฑ : นป. เครื่องราชกุธภัณฑ์
ราชายตน : ป. ไม้ราชายตนะ, ไม้เกด
ราชกมฺมิก : ป. ราชอำมาตย์ , คณะของพระราชา
ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
ราชมหามตฺต : ป. นายกรัฐมนตรี, มหาอำมาตย์ของพระราชา
ราชมุทฺทา : อิต. พระราชลัญจกร
ราชรุกฺข : ป. ต้นราชพฤกษ์
ราชวยฺห : ป. ช้างพระที่นั่ง
ราชวลฺลภ : ค. ซึ่งป็นที่ทรงโปรดของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาณา : อิต. อาณาของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชามจฺจ : ป. อำมาตย์ของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาหส : ป. ราชหงส์, หงส์ซึ่งมีปากและเท้าแดง
ราสิ : ป. กอง, ก้อน, กลุ่ม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม
เรจน : นป. การส่งออกไป
ทุหิตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ธิดา, บุตรี. วิ. ทุหติ พนฺธเว ปูเรตีติ ทุหิตา. ทุหฺ ปปูรเณ, ราตุ, ราโลโป. อิอาคาโม. หรือลง ริตุ ปัจ. ลบ รฺ.
กณฺฑรา : (อิต.) เอ็นใหญ่ กฑิ เภทเน, อโร. ส. กณฺฑรา.
กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.