Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียนหนังสือ, หนังสือ, เรียน , then รยนหนงสอ, เรียน, เรียนหนังสือ, หนังสือ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียนหนังสือ, 114 found, display 1-50
  1. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  2. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  3. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  4. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  5. คนฺถโสธน : (นปุ.) การชำระคัมภีร์, การชำระ หนังสือ.
  6. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  7. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  8. โกญฺจ : (ปุ.) นกกระเรียน, หกกาเรียน. กุจฺ ตาเร, โณ, นิคฺคหิตาคโม.
  9. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  10. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  11. คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
  12. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  13. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  14. คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
  15. โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
  16. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  17. ฉนฺทส : (ปุ.) พราหมณ์ (ผู้เรียนพระเวท) วิ. ฉนฺทํ อธิเตติ ฉนฺทโส. ส ปัจ.
  18. ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
  19. ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
  20. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  21. ญตฺวา : กิต. รู้แล้ว, เข้าใจแล้ว, เรียนรู้แล้ว
  22. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  23. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  24. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  25. ธมฺมปริยตฺติ : อิต. ธรรมปริยัติ, การเรียนธรรม, การศึกษาธรรม
  26. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  27. ธมฺมสมาทาน : นป. ธรรมสมาทาน, การสมาทานธรรม, การศึกษาเล่าเรียนธรรม
  28. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  29. นิปฐ : ป. ปาฐะ, การสอน, ความฉลาด, การเรียน, การหัดอ่าน
  30. นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
  31. ปฏิปณฺณ : นป. จดหมายตอบ, หนังสือตอบ
  32. ปฏิสาสน : นป. หนังสือตอบ, จดหมายตอบ, คำตอบ
  33. ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
  34. ปทภญฺชิกา : (อิต.) การลงบัญชี, หนังสือรายวัน.
  35. ปริยตฺติ : อิต. การเล่าเรียน
  36. ปริยตฺติธมฺม : ป., นป. ธรรมที่ต้องเล่าเรียน
  37. ปริยาปุณน : นป. การเรียน
  38. ปริยาปุณาติ : ก. เล่าเรียน, ขวนขวาย
  39. ปริยาปุต : กิต. เล่าเรียนแล้ว, ขวนขวายแล้ว
  40. ปริยายกถา : อิต. การเล่าเรียน, การพูดอ้อมค้อม
  41. ปารายณิก : ค. ผู้เรียนเรื่องโบราณ, นักศึกษาโบราณคดี
  42. โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
  43. พฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ผู้คงแก่เรียน
  44. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  45. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  46. พหุสุต : (วิ.) ผู้ฟังมาก, ผู้สดับมาก, ผู้เรียนมาก, ผู้มีสุตะมาก, ผู้คงแก่เรียน. วิ. พหุสุตํ ยสฺส โส พหุสุโต.
  47. พหุสุต, พหุสุตก, พหุสฺสุต, พหุสฺสุตก : ค. พหูสูต, ผู้มีความรู้มาก, ผู้คงแก่เรียน, ผู้ได้ยินได้ฟังมาก, นักปราชญ์
  48. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  49. มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
  50. มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-114

(0.0475 sec)