Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียบง่าย, เรียบ, ง่าย , then งาย, ง่าย, รยบงาย, เรียบ, เรียบง่าย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียบง่าย, 52 found, display 1-50
  1. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  2. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  3. อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
  4. โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
  5. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  6. สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
  7. สิลฏฺฐ : ค. เกลี้ยง, เรียบ, อ่อน
  8. สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
  9. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  10. อีสก : (วิ.) น้อย, เล็กน้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย หนึ่ง, นิดหน่อย, สะดวก, ง่าย. ส. อีษตฺ.
  11. อีสก อีส : (อัพ. นิบาต) น้อย, ฯลฯ, ง่าย.
  12. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  13. กากเปยฺย : ค. แอ่งน้ำที่เต็มเปี่ยมพอที่กาควรดื่มกินได้, เต็มจนถึงขอบพอที่กาจะดื่มกินได้โดยง่าย
  14. โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
  15. คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
  16. โฆฏก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้าวิ่งไม่เรียบ. ฆุฏฺ ปฏิฆาเต, ณวุ.
  17. จิปิฏ : ค. ซึ่งถูกกดให้เรียบ, ถูกทำให้แบน
  18. ทมฺภน. : (นปุ.) การร้อยกรอง, การเรียบเรียง, การแต่ง. ทมฺภิ คนฺถเน, ยุ.
  19. นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
  20. ปฏินิสฺสคฺคี : ค. ซึ่งสละคืน, ซึ่งสลัดทิ้ง, ซึ่งละเลิก; ซึ่งสละได้ (ยากหรือง่าย)
  21. ปตฺถคู : ค. ผู้เชื่อฟังคำ, ผู้ว่าง่าย; เดินไป, เที่ยวไป
  22. ปทฺธคู : ค. ผู้เชื่อฟัง, ผู้ว่าง่าย, ผู้คอยรับใช้; ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินทาง
  23. ปทรสิลา : อิต. ศิลาเรียบ, แผ่นหินที่ใช้ปูพื้นสำหรับเดิน
  24. ปพนฺธ : (วิ.) แต่ง, แต่งขึ้น, ผูกขึ้น, เรียบเรียง, ร้อยกรอง. ปปุพฺโพ, พนฺธ พนฺธเน, อ.
  25. พนฺธุร : ค. ซึ่งไม่ราบเรียบ, ซึ่งเป็นลูกคลื่น
  26. ยนฺต : (วิ.) คล่อง, เร็ว, สะดวก,ง่าย.
  27. วิสม : ค. ไม่เรียบ, ไม่เสมอ
  28. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  29. สพฺพจ : (วิ.) อัน...พึงรู้ตามได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงสอนได้โดยง่าย. วิ. สุเขน วจิตพพฺโพติ สุพฺพโจ. สุข ปุพฺโพ, วจฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โข, วสฺสโพ, พสํโยโค.
  30. สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.
  31. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  32. สุทิฏฺฐ : ค. เห็นง่าย
  33. สุพฺพจ : ค. ว่าง่าย, สอนง่าย
  34. สุภร : (วิ.) อัน...เลี้ยงได้โดยง่าย, เลี้ยงง่าย. วิ. สุเขน ภรียตีติ สุกโร. สุขปุพฺโพ, ภรฺ โปสเน, โข.
  35. สุลภ : (วิ.) อัน...พึงได้โดยง่าย, พึงได้โดยง่าย.
  36. สุวจ : (วิ.) ผู้อัน...กล่าวได้โดยง่าย, ผู้อัน...ว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...สอนได้โดยง่าย, ผู้อัน...ว่าง่ายสอนง่าย.
  37. สุวิญฺเญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้ได้โดยง่าย, อัน...พึงรู้แจ้งได้โดยง่าย. ณยฺ ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  38. สุวินย : (วิ.) ผู้อันบุคคลแนะนำได้โดยง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้ว่าง่าย, ผู้ตัดง่าย, ผู้ฝึกง่าย.
  39. สุสฺสย : (ปุ.) การนอนได้โดยง่าย. สุขปุพฺโพ. สี สเย, โข, สฺสํโยโค.
  40. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  41. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  42. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  43. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  44. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  45. อธินอธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่ายผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย.อธิคโตอิโนปภูเยนาติอธีโน.อธีน
  46. อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
  47. อโรสเนยฺย : ค. ผู้ไม่โกรธง่าย, ผู้ไม่ขุ่นเคือง
  48. อวิวรทนฺต : ค. มีฟันไม่ห่าง, มีฟันเรียบเสมอดี
  49. อสงฺกุสกวตฺติ : อิต. ความประพฤติที่ไม่ขัดกัน, ความประพฤติที่สอดคล้องกัน, ความว่าง่ายสอนง่าย
  50. อสฺสว : (วิ.) ผู้ว่าง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้เชื่อฟัง, วิ.อาเทสิตํอาทเรเนวสุณาตีติอสฺสโว.อาบทหน้าสุธาตุอ หรือณปัจ. พฤทธิอุ เป็น โอ แปลง โอ เป็นอว รัสสะอาเป็นอซ้อนสฺ.
  51. [1-50] | 51-52

(0.0694 sec)