ทารุสงฺฆาฏ : ป., ค. แพไม้, เรือ; ซึ่งต่อด้วยไม้, ซึ่งคาดด้วยไม้, ซึ่งสร้างด้วยไม้
ชลยาน : (นปุ.) ยานที่ลอยอยู่ในน้ำ, ยานในน้ำ, น้ำ, เรือ.
ตรณ : (นปุ.) อันข้าม, อันข้ามไป, อันข้ามน้ำ ไป, อันข้ามแม่น้ำไป, การข้าม, ฯลฯ, เรือ. ตรฺ ตรเณ, ยุ. ส. ตรณ.
โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
นาวา : อิต. เรือ
ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
กูป, - ปก : ป. หลุม, บ่อ, โพรง; เสากระโดงเรือ
โคฏวิย, โคฏวิส : ป. ตะกวด, สัตว์งวง; ส่วนของเรือ; ดาดฟ้า, บาหลี; สมอเรือ, แจว, พาย
โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
ตรณฺฑ : ไตร. เรือ, แพ
ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
ตารณิ : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, ดารณี. ณิ ปัจ. ไม่ลบ ณฺ. ส. ตารณี.
ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
เทวยาน : นป. ทางไปสวรรค์, เรือเหาะ
โทณิ, - ณิกา, - ณี : อิต. เรือชะล่า, เรือโกลน, เรือแจว; ราง, ลำราง
ธุวนาวา : อิต. เรือประจำท่า, เรือที่ข้ามฟากไปมาเป็นประจำ, เรือจ้าง
นาวาสญฺจาร : ป. การเที่ยวทางเรือ, ท่าเรือ
นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
นาวิกโยธ : (ปุ.) ทหารเรือ.
นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
นาวิกสตฺถ : (นปุ.) ตำราเดินเรือ, นาวิกศาสตร์. ส. นาวิกศาสฺตฺร.
นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
นาวิถี : อิต. คนเรือผู้หญิง, หญิงผู้อยู่ในเรือ
นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
ปโปต : (ปุ.) สำเภา เรือสำเภา ชื่อเรือเดินทะเล สมัยโบราณ. โปตเรือเล็ก ปโปตเรือใหญ่ คือเรือสำเภา.
ปวหณ : นป. เรือเล็กของเรือกำปั่น, สัดจอง
โปต : (ปุ.) เรือ, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือน้อย), เรือเล็กของกำปั่น, ลูก, ลูกน้อย. ปุ ปวเน คติยํ วา, โต.
โปตวาห : (ปุ.) ต้นหน, นายท้าย. โปตปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณ โณ. แปลว่า ลูกเรือ กลาสี ฝีพาย ด้วย.
โปลินฺท : (ปุ.?) ห้องท้ายเรือ.
รตฺตสุวณฺณนาวา : (อิต.) เรือเป็นวิการแห่งทองมีสีสุก.
ลการ : ป. เรือ, ส่วนของเรือ, จังกูด
อนฺโตทกนาวา : (อิต.) เรือดำน้ำ.
อาลการ : (ปุ.) ใบกระโดง, ใบกระโดงเรือ, ใบเรือ.
อุชฺชวนิกา : อิต. การแล่นทวนกระแส, การแล่นเรือทวนน้ำ
โอฬมฺปิก : ค. ซึ่งเกี่ยวข้องด้วยเรือ, คนล่องแพ
คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
อธิรอธีร : (วิ.) ผู้ไม่หาญ, ผู้ไม่กล้าหาญ, วิ.น ธีโรสูโรอธีโร.
อภิสขรอภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล.อภิสํบทหน้ากรฺธาตุอปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺรูปฯ ๕๖๖.
อลการอลงฺการ : (ปุ.) การประดับ, วิ. อลํ วิภูส-ณํกรียเตติอลํกาโร.อลงฺกาโรวา.ณ ปัจ.ส. อลงฺการ.
อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
ปจฺจาสึสติ : ก. หวัง, ปรารถนา, รอท่า
ปฏิมาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, รับใช้, รอคอย
ปติกฺขนฺต : กิต. รออยู่, คอยอยู่
สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
อธิวาสาเปติ : ก. ให้รอคอย
อธิวาเสติ : ก. ๑. อยู่, รอคอย, อดทน ;
๒. รับนิมนต์, ตกลง
อาคเมติ : ก. รอคอย, รอเวลา, รอต้อนรับ