กกฺกร : ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ; กระจก, คันฉ่อง
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
ปติสฺสย : ป. ที่พำนัก, ที่อาศัย, เรือน
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
คมน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป, เรือน. คมฺ คติยํ, ยุ.
ฆร : (นปุ.) กล่อง, เรือน. วิ. ฆรติ กิเลสวสฺสํ เอตฺถาติ ฆรํ. ฆรฺ เสจเน, โณ. คยฺหตีติ วา ฆรํ. คหฺ คหเณ. โณ, คหสฺส ฆราเทโส. รูปฯ ๕๖๗.
ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
ปพฺพชา : (อิต.) การออก, การออกไป ( จาก เรือน คือบวช ), การบวช, การออกบวช. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. การค้นหา การแสวงหา ( ความพ้นทุกข์ ) . วชฺ มคฺคเน.
ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
อชฺฌาวสฏฺฐ อชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน. อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
อาเวสน : (นปุ.) อาเวสนะ ที่ทำการของศิลปิน, ศาลาทำการของพวกศิลปฺ ทรวดทรง, เรือน. ยุ ปัจ.
อชฺฌาวสฏฺฐอชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน.อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
กุฏาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนยอด (ปราสาท).
กุฏิ : (อิต.) เรือน, เรือนพระ, ที่อยู่ของพระ, กระท่อม, กระฏิ, กุฏิ, กุฏี. วิ. กุฏตีติ กุฏิ. กุฏฺ เฉทเน, อิ. เป็น กุฏี บ้าง. ส. กุฏิ.
กุฏิมฺพิก : ป. กระฎุมพี, คนมั่งมี, พ่อเรือน
กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
กุลว : ป. เรือนคลัง, โรงเก็บของ
กูฏงฺคม : ค. (กลอนเรือน) ซึ่งไปสู่ยอด, ซึ่งไปรวมกันที่ยอด
กูฏาคาร : นป. เรือนยอด, อาคารที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม
กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
โกฏฐาคาร : ป., นป. เรือนคลัง, ยุ้ง, ฉาง, โกดัง
โกฏฺฐาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคลัง, คลัง.
โกสโกฏฐาคาร : ป., นป. เรือนคลังและยุ้งฉาง
คหการก : ป. ผู้สร้างเรือน
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
คหฏฐ : ป. คฤหัสถ์, ผู้ครองเรือน
คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
คหปตานี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเจ้าแห่งเรือน, ฯลฯ.