อติสญฺจร : ค. ท่องเที่ยวเรื่อยไป, เที่ยวมาก
อนนฺตร : (วิ.) ไม่มีระหว่าง, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันเรื่อยไป, ไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง, ลำดับ, ส.อนนฺตร.
อภิณฺห : ก.วิ. บ่อย ๆ, เนือง ๆ, เรื่อยไป
กลก กลงฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, ตำหนิ. ก มตฺตานํ ลํกยติ หีนํ กโรตีติ กลํโก กลงฺโก วา. กปุพฺโพ, ลํกฺ องฺเก, อ. ส. กลงฺก.
กลงฺก (กลก) : ป. เครื่องหมาย, รอย, แผลเป็น, สนิม, การติเตียนของโลก
จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
มุทฺทา : (อิต.) ตรา, ตราประทับ, เครื่องสำหรับตีตรา, เครื่องหมาย, รอย, แหวน, แหวนตรา, พิมพ์ (รูปแบบ), ลัญจกร.
รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
ลกฺขณ : นป. เครื่องหมาย, รอย, ลักษณะ, คุณภาพ, ปกติ
ลญฺฉ, - ฉน : นป. เครื่องหมาย, รอย
อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
ปทฺธตี : (อิต.) ทาง, หนทาง, รอย.
ภิญฺญาณ : (นปุ.) เครื่องหมาย, รอย.
อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
กกฺกฎกมคฺค : ป. ทางปูเดิน, รอยปู
กมฺมส : ป. โทษ, ความด่างพร้อย, รอยเปื้อน
กากปาท : ป., นป. กากบาท, รอยกา, ตีนกา
กาฬชลฺลิก : ค. ซึ่งเกิดจากน้ำสีดำ, มีรอยด่าง, มีตำหนิ
กุณฺฐ : (วิ.) เกียจคร้าน, เฉื่อยชา, เงื่องหงอย, ร่อย, เหี้ยน, กระจอก (เขยก), เขยก. กุฐิ อาลสิยคติปฏิฆาเตสุ, อ.
ขฏิ : อิต. รอยแผลเป็น; หีบศพ
คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
โคปท : นป. รอยเท้าโค
ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
จิหน : นป. เครื่องหมาย, รอยจุด
ฉิทฺทการี : ค. ผู้ไม่ลงรอยกัน, ขัดกัน, แตกร้าวกัน
ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
ฉิทฺทาวจฺฉิทฺทก : ค. มีรอยแตกและรู, มีช่องน้อยช่องใหญ่
ตลลญฺจน : (นปุ.) รอยแห่งพื้น, บาทฐาน.
นขเลขา : (อิต.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, รอยเล็บ, การเขียนที่เล็บ, การทาเล็บ.
นนิกาม : ค. ไม่เหมาะสม, ไม่ลงรอยกัน, ไม่ยินดีด้วย
นิพฺพิวร : ค. ซึ่งไม่มีช่อง, ไม่มีรู; ไม่มีรอยร้าว, ไม่มีโทษ
นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
ปฐวีเลขา : อิต. รอยขีดเขียนบนพื้นดิน
ปตร : ป., นป. ระแหง, รอยแตก
ปทกุสล : ค. ผู้ฉลาดในการสังเกตรอยเท้า, ผู้ฉลาดดูรอยเท้า, ผู้ชำนาญในการตามรอย
ปทเจติย : (นปุ.) พระเจดีย์คือรอยแห่งพระบาท ( รอยเท้าของพระพุทธเจ้า ) .
ปทชาต : นป. รอยเท้า
ปทวลญฺช : (ปุ.) รอยเป็นที่กดลง, รอยเท้า.
ปทานุปท : (วิ.) มีรอยเท้าใหญ่และรอยเท้าเล็ก.
ปทานุปท : อ. ตามรอยเท้า, ตามติดไป
ปทานุปทิก : อ. ผู้เดินตามรอยเท้า, ผู้ติดตามไป
ปาสณฺฑ : นป. ความเห็นนอกรีดนอกรอย, บาป
ปาสณฺฑก, - ฑิก : ป. คนนอกรีดนอกรอย
ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
ปิโสทร : ค. มีท้องเป็นรอยจุด
พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
วลญฺช : นป. รอย, เครื่องหมาย, ทาง