นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
ราชกกุธภณฺฑ : นป. เครื่องราชกุธภัณฑ์
ราชายตน : ป. ไม้ราชายตนะ, ไม้เกด
ราชกมฺมิก : ป. ราชอำมาตย์ , คณะของพระราชา
ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
ราชมหามตฺต : ป. นายกรัฐมนตรี, มหาอำมาตย์ของพระราชา
ราชมุทฺทา : อิต. พระราชลัญจกร
ราชรุกฺข : ป. ต้นราชพฤกษ์
ราชวยฺห : ป. ช้างพระที่นั่ง
ราชวลฺลภ : ค. ซึ่งป็นที่ทรงโปรดของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาณา : อิต. อาณาของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชามจฺจ : ป. อำมาตย์ของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาหส : ป. ราชหงส์, หงส์ซึ่งมีปากและเท้าแดง
ราสิ : ป. กอง, ก้อน, กลุ่ม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม
กณฺฑรา : (อิต.) เอ็นใหญ่ กฑิ เภทเน, อโร. ส. กณฺฑรา.
กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
สราสน : (นปุ.) ธนู, ศร. วิ. สรํ อสตีติ สราสนํ. อสุ เขปเน, ยุ.
สิรา : (อิต.) เอ็น วิ. เสติ สรรนฺติ สิรา. สิ พนฺธเน, โร, อิตฺถิยํ อา.
สิโรธรา : (อิต.) คอ วิ. สิรํ ธรตีติ สิโรธรา. สิรปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. สิโร ธิยฺยเต อสฺสนฺติ วา สิโรธรา. ธา ธารเณ, อโร.
กฏมฺภรา : อิต. บัวคำชนิดหนึ่ง; ช้างพัง
กฏุรา : อิต. เศษนมที่เหลือจากทำเนย, เปรียง
กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
การาคารปติ : (ปุ.) พัสดี.
การาคาราธิปติ : (ปุ.) อธิบดีกรมราชทัณฑ์.
การาปก : ป., นป. คนหรือสิ่งที่ให้ทำ
การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
การาเปติ : ก. ให้ทำ, ปกครอง; เสวย (ราชย์)
การาเภทก : ค. ผู้ทำลายคุก; ผู้แหกคุก
กุสุมฺภรา : อิต. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
ขคฺคธารา : อิต. คมพระขรรค์, คมดาบ
ขณฺฑสกรา : (อิต.) ขัณฑสกร ชื่อเครื่องยาชนิด หนึ่งคล้ายน้ำตาลกรวด. น้ำตาลกรวด ก็แปล.
ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
คุรุสารา : อิต. ดอกกล้วยไม้
ฆราชิร : นป. ลานบ้าน, สนามหน้าบ้าน
โฆรราสน : ป. สุนัขจิ้งจอก
จตุมฺมหาราชิก : ค. จาตุมมหาราชิกะ, (หมู่เทวดา)ผู้เป็นบริวารของท้าวจาตุมมหาราชอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่หนึ่ง
จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
จีวรวิจารณสิพฺพนาทิสมณปริกฺขาราภิสงฺขรณ : (นปุ.) การตกแต่งซึ่งบริขารของสมณะมี การกะและการเย็บซึ่งจีวรเป็นต้น.
ชารา ชารี : (อิต.) หญิงที่รัก, หญิงมีชู้, หญิงชู้.
ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย