เลข : ป. สิ่งที่เขียน, ปากกา, ดินสอ; แถว, แนว
เลขก : ป. ผู้เขียน, เสมียน, เลขา
เลขน : นป. การเขียน; อักษร, สิ่งที่เขียน
เลขนี : อิต. ปากกา, ดินสอ
สลฺเลข : (ปุ.) การขัดเกลา, ความขัดเกลา(ขัดเกลากิเลส). สํปุพฺโพ, ลิขฺ เลขเน, โณ.
มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
นาลเลขนี นาฬเลขนี : (อิต.) ปากกา หมึกซึม.
นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
ปฏิเลขน : นป. จดหมายตอบ
ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
ผณิเลข : ป. นกคุ่ม
มสิเลขนี : (อิต.) ปากกา.
เลขา : อิต. สิ่งที่เขียน, ตัวอักษร, อักขระ, ไร่ป่า, แถว, แนว
วิเลข : ป. การขีดเขียน
สิลาเลขนี : (อิต.) ดินสอหิน.
อปลิขติ, อปเลขติ : ก. ขูดออก, ลบออก
อปลิขน, อปเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
อวเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
อวเลขนกฏฺฐ : (นปุ.) ไม้ชำระ (ไม้เช็ดก้นที่ภิกษุใช้).
อวเลขนกฏฺฐ : นป. ไม้ชำระ, ไม้สำหรับขัดถู
อวเลขนปีฐร : (ปุ.) หม้อน้ำชำระ, หม้อใส่น้ำสำหรับล้างก้นเมมื่อถ่ายอุจจาระ.
อสลฺเลข : ป., ค. ไม่ขัดเกลา, ไม่บำเพ็ญเพียรเพื่อขัดเกลากิเลส
อาเลข : ป. การวาด, ภาพวาด
อาเลขนี : อิต. แปรงทาสี, พู่กัน, ดินสอ
อุชุเลขก อุชุภณฺฑ : (ปุ.) ไม้บรรทัด.
อุลฺเลขน : นป. การเขียน, การขูด, การขีด, การกะเทาะออก
กถาน : (นปุ.) กถานะ ชื่อมาตรานับ เท่ากับ เลข ๑ มีสูญ ๑๒๖ สูญ.
นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
มหากถาน : (นปุ.) มหากถานะ ชื่อมาตรานับเท่ากับ เลข ๑ มีสูญ ๑๓๓ สูญ. มหนฺตปุพฺโพ, กถฺ วากฺยปฺปพนฺเธ, ยุ. ทีโฆ จ.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
โสคนฺธิก : (นปุ.) โสคันธิกะ ชื่อมาตรานับร้อย คูณแสน อัฎฎะ. เลข ๑ มีสูญ ๙๑ สูญ.
นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
กลหล : (ปุ.) เสียงกึกก้อง, เสียงเซ็งแซ่, โกลาหล. กลปุพฺโพ, หลฺ วิเลขเณ, อ.
กสก : (ปุ.) ชาวนา, ผาล คือ เหล็กที่สวมหัว หมูของไถ ใช้ไถนาไถสวน. วิ. กสติ ภูมึ วิลิขตีติ กสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
กสมฺพุ : (ปุ.) กาก, หยากเยื่อ. กสฺ วิเลขเณ, อมฺพุ. ลง ก สกัดเป็น กสมฺพุก บ้าง.
กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
ผาล : (ปุ.) ผาล ชื่อเหล็กสำหรับสวมหัวหมู เครื่องไถ. วิ. ภูมึ ผาลตีติ ผาโล. ผาลฺ วิเลขเณ, โณ. ผาลยติ ภูมึ เยน โส ผาโล.
พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
มหาปทุม : (นปุ.) ล้านโกฏิ, มหาปทุม ชื่อมาตรานับเลข ๑ มีสูญ ๑๒ สูญ.
รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
องฺก : ป. ตัก, เอว, เครื่องหมาย; จำนวนเลข, ขอ
อชฺโฌกาสอพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอกาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว.อธิอวปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
อชฺโฌกาส อพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอ กาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว. อธิ อว ปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
อฏฏ : (นปุ.) อฎฎะ ชื่อมาตรานับต่อจาก อพพะเลข ๑ มีสูญ ๒๘ สูญ.อฎฺ คติยํ. โฎ.