กทฺทม : (ปุ.) ตม, เปือกตม (เลนที่ละเอียด), เลน, โคลน, สีตม. กทฺ มทฺเท, อโม, ทฺวิตฺตํ. กทฺทฺ กุจฺฉิตสทฺเท วา, อโม. ส.กรฺท, กรฺทม.
นิเลนก : นป. ที่ตั้งภูมิลำเนา, ที่แอบแฝง, ที่ซุ่มซ่อน, ที่อาศัย
กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา ญาเณ, รู.
กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
กามุก : (วิ.) ผู้ใคร่โดยปกติ วิ. กาเมติ สีเลนาติ กามุโก. ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามุโก. กมฺ กนฺติยํ, ณุโก.
การุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ วิ. กโรติ สีเลนาติ การุโก. ผู้มีปกติทำ วิ. กรณสีโล การุโก. ณุก ปัจ. กัจฯ ๕๓๖.
กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
กาลญฺญู : (วิ.) ผู้รู้กาล, ผู้รู้จักกาล. วิ. กาลํ ชานาตีติ กาลญฺญู. ผู้รู้จักกาลโดยปกติ วิ. กาลํ ชานาติ สีเลนาติ กาลญฺญู. รู ปัจ. แปลง และ วิ. ได้อีก ดู ธมฺมจารี.
กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
กุทฺทาลิก : (วิ.) ผู้ขุดด้วยจอบ วิ. กุทฺทาเลน ขนตีติ กุทฺทาลิโก. ณิก ปัจ. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ ๒๙.
เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
ชมฺพาล : (ปุ.) เปือกตม (เลนตมที่ละเอียด) วิ. ชลํ พลเตติ ชมฺพาโล. พลฺ ปาณเน, โณ แปลง ล ที่ ชล เป็น ม. ส. ชมฺพาล.
ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
มรุ : (ปุ.) เทวดา วิ. ทีฆายุกาปิ สมานา มรนฺติ สีเลนาติ มรุ. มรฺ ปาณจาเค, อุ. ภูเขา, ที่กันดารน้ำ, ทะเลทราย.
มูลฺย : (นปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ, รางวัล. วิ. มูเลน สมฺมิตํ มูลฺยํ. ณฺย ปัจ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ วา, โย.
สุธาสี : (ปุ.) เทวดา (ผู้กินอาหารทิพย์) วิ. สุธา อสนฺติ สีเลนาติ สุธาสิโน. อสฺ โภชเน, ณี.
หริ : (ปุ.) พระนารายณ์, พระวิษณุ. วิ. มจฺจานํ ชีวิตํ หรติ สีเลนาติ หริ. หรฺ นยเน, อิ. ส. หริ.
องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
อวิญฺญู : (วิ.) มิใช่ผู้รู้แจ้ง, มิใช่ผู้รู้แจ้งโดยปกติ, เขลา, โง่, ไม่รู้เดียงสา.วิ.วิเสสํชานาติ.สีเลนาติอวิญฺญู.วิญฺญูปฏิปกฺโขอวิญฺญู.
อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
อาฆาตุก : (วิ.) ผู้ฆ่าโดยปกติวิ. อาหนติสีเลนาติอาฆาตุโก.ผู้มีการฆ่าเป็นปกติวิ.อาหนิตุสีลมสฺสาติอาฆาตุโก.อาหนนสีโลอาฆาตุโก.ณุกปัจ.
โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
กิลน : (นปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
คิลน : นป. การกลืนกิน
จาลน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, ฯลฯ
เฉทนผาลนวิชฺฌนาทิ : (วิ.) มีอันตัดและอัน ผ่าและอันแทงเป็นต้น.
ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
ทาลน : นป. การผ่า, การแยก, การเซาะ, การแตก, การพัง, การทำลาย
นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
ปกฺขลน : นป. การสะดุด, การถลา, การพลาด
ปทาลน : นป. การทำลาย, การทำให้แตก, การทำให้พัง
ปสุปาลน : นป. การเลี้ยงสัตว์
ผาลน : (นปุ.) การผ่า, ฯลฯ, การทำลาย. ผลฺ วิทารเณ, ยุ, ทีโฆ จ.
ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
เมลน : (นปุ.) การกอดรัด, ฯลฯ, การรวมกัน, การร่วมกัน, ความกอดรัด, ฯลฯ, ยุ ปัจ.
ลาลน : นป. การเล่นสนุก, การขับกล่อม
สมฺปทาลน : นป. การฉีก, การผ่า, การทำลาย
สีลน : นป. การฝึกหัด, การปฏิบัติ, การละเว้น
เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
หีลน : นป., -ลนา อิต. การหยาม, การดูถูก
อคฺคิชาลน : (นปุ.) การจุดไฟ, การบูชาไฟ.