กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
กสมฺพุชาต : ค. สกปรก, ไม่บริสุทธิ์, เลว
กิณฺห : ค. ดำ, ชั่ว, เลว
กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
ขุลฺล : ค. น้อย, เลว
ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
ฉุฑฺฑ : ค. อันเขาทิ้ง, อันซัดไปแล้ว, เลว, ต่ำต้อย
ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
ทีนตา : อิต., ทีนตฺต นป. ความเป็นคนจน, เข็ญใจ, มีทุกข์, เลว, ทราม, ต่ำช้า
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
นิกิฏฺฐ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, ต่ำ, ต่ำช้า, โหด, ถ่อย. นิปพฺโพ นินฺทายํ, กิฏ คติยํ, โฐ.
นิคฺคุณ : ค. ซึ่งปราศจากคุณความดี, เลว
นิหีน : ค. ต่ำ, เลว
ปติกิฏฺฐ : ค. น่ารังเกียจ, ต่ำทราม, เลว
ปทุฏ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, เลวทราม.
ปริหีน : ค., กิต. เสื่อม, เลว
ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
ลามก : ค. ลามก, ชั่ว, เลว, ต่ำช้า
อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
อนาริย : ค. ไม่ใช่อารยะ, เลว
อปฺปสาทน : (วิ.) ไม่ทำให้เลื่อมใส, เลว, โกง, หลอกลวง.
อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
โอ : (อัพ. นิบาต) ลง, ต่ำ, ลามก, เลว, ทราม, เลวทราม.
โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
ลว : ป. น้อย; การเกี่ยว, การเก็บ; การหยด, การตก
สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
อาวชฺช : (วิ.) ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, ทราม, เลว ทราม, อาปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณฺย.
โอมก : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย, เลว, ทราม, เลว ทราม, ลามก, เล็ก. อมฺ นินฺทายํ, โณ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง อ ปัจ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
อิตฺตร : (วิ.) ต่ำช้า, ลามก, เลว.
เอล เอฬ : (วิ.) ชั่ว, เลว.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฐิ น : (วิ.) แข็ง, กักขละ, สาหัส. เลว, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, ด่วน, รีบ. กฐฺ กิจฺฉ ชีวเน, อิโน. แปลง ฐ เป็น ถ เป็น กถิน บ้าง. ส. กฐิน.
กณฺหกมฺม : นป. กรรมดำ, กรรมเลว
กณฺหธมฺม : ป. ธรรมดำ, ธรรมเลว, อกุศล
กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
กณฺหภาวกร : ค. ซึ่งก่อให้เกิดสถานะเลว
กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
กุทาร : ป. ภรรยาชั่ว, เมียเลว
กุปุริส : ป. คนชั่ว, คนเลว
กุมิตฺต : ป. มิตรเลว, เพื่อนชั่ว
กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
คูถภาณี : ค. ผู้พูดเลว, พูดไม่เพราะ, พูดหยาบ; คนปากเหม็น, คนปากเสีย
จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
เจฏ, - ฏก : ป. คนรับใช้, เด็กรับใช้, ทาส, คนเลว