ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
จชติ : ก. สละ, บริจาค, มอบให้, ทอดทิ้ง, เลิก
ชหติ, ชหาติ : ก. ละ, เลิก, ทอดทิ้ง, ผละหนี
นิกฺขิปติ : ก. วางไว้, เก็บไว้, เลิก, ถอน, บอกคืน
ปฏิวฺยาหรติ : ก. บอกคืน, เลิก, หยุด
ปวิทฺธ : ค. ขว้างไป, ซัดไป, เลิก, ละทิ้ง
ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
สมูหนติ : ก. ถอน, เลิก, ทิ้ง
อุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, เลิก, เคลื่อนไป
อุชฺชหติ : ก. สละ, ละทิ้ง, เลิก
อุปารมติ : ก. เว้น, เลิก, ละ
โอชหาติ : ก. สละ, เลิก
โอสฺสชติ : ก. สละ, ละ, เลิก, ปล่อย
กิจฺจการ : (ปุ.) ธุระอัน...พึงทำ, หน้าที่อัน...พึง ทำ, งานที่พึงประกอบ, กิจจการ กิจการ (ธุระการงานที่พึงประกอบ).
กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
จชน : นป. การสละ, การบริจาค, การเลิก
จตฺต : กิต. (อัน) สละแล้ว, บริจาคแล้ว, เลิกแล้ว
จาคี : ป., ค. ผู้สละ, ผู้เสียสละ, ผู้ละเลิก, ผู้ให้, ผู้บริจาค
ชนฺติ : อิต. การละ, การละทิ้ง, การเลิก
ชห : ค. อันละ, อันเลิก
ทณฺฑนิติ ทณฺฑนีติ : (อิต.) ทัณฑนิติศาสตร์ ตำราว่าด้วยกิจการบ้านเมือง ตำราว่าด้วย การลงทัณฑ์.
ทุจฺจช : ค. ซึ่งสละได้ยาก, ซึ่งละได้ยาก, ซึ่งเลิกได้ยาก
ทุปฺปฏินิสฺสคฺคิย : ค. ซึ่งสละคืนได้ยาก, ซึ่งละเลิกได้ยาก
ธุรการ : (ปุ.) การทำซึ่งหน้าที่, การทำหน้าที่, ธุรการ ชื่อบุคคลผู้ทำงานฝ่ายปกครอง มีหน้าที่เป็นแม่บ้านของหน่วยงานนั้นๆ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของการจัดกิจการ โดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานฝ่ายวิชาการ.
ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
ธุรนิกฺเขป : ป. การเลิกงาน, การทอดทิ้งธุระ, การสลัดแอก
นิจฺฉุธติ : ก. โยนออกไป, ทิ้ง, สละเลิก
นิจฺฉุธน : นป. การโยนทิ้ง, สละเลิก, ไล่ออกไป
นิวตฺต : ค. ผู้กลับ, ผู้ละเลิก
ปฏินิสฺสคฺค : ป. การสละคืน, การสลัดทิ้ง, การละเลิก
ปฏินิสฺสคฺคี : ค. ซึ่งสละคืน, ซึ่งสลัดทิ้ง, ซึ่งละเลิก; ซึ่งสละได้ (ยากหรือง่าย)
ปฏินิสฺสชฺชติ : ก. สละคืน, สลัดทิ้ง, ละเลิก
ปฏินิสฺสฏฺฐ : กิต. (อันเขา) สละคืนแล้ว, สลัดทิ้งแล้ว, ละเลิกแล้ว, สละแล้ว
ปรกฺกโรติ : ก. ทำไว้ข้างโน้น, นำออก, กำจัด, สละ, ละเลิก
รตฺตญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ราตรีนาน, บุคคลผู้รู้กาลนาน, บุคคลผู้มีประสบการณ์มาก, รัตตัญญูบุคคล (ผู้มีอายุมาก ผู้จำกิจการต่างๆ ได้มาก).
สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
สมูหต : กิต. ถอนแล้ว, เลิกแล้ว, ทิ้งแล้ว
สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
หีน : (วิ.) สละ, ละ, ทิ้ง, วาง, ปล่อย, เลิกถอน. หา จาเค, อิโน, ทีโฆ.
อปฺปหีน : ค. ไม่สละ, ไม่ล้มเลิก
อปวาเหติ : ก. ให้นำไป, ให้เลิก
อวากโรติ : ก. เลิกทำลาย ; ให้คืน
อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
อารติ : (อิต.) การงด, การเว้น, การงดเว้น, การเลิก, การหยุด, ความงด, ฯลฯ.วิ.ทูรโตวิรมณํอารติ.อาปุพฺโพ, รมุอุปรมเน, ติ, มุโลโป.ส.อารติ.
อุกฺกุชฺชน : (นปุ.) การหงาย. อุปุพฺโพ, กุชฺชฺ อโธมุขีกรเณ, ยุ. อุกฺกุฏน อุกฺโกฏน (ปุ., นปุ.?) การยกขึ้น, การเผยขึ้น, การเลิกขึ้น, การรื้อฟื้น.
อุปรุชฺฌติ : ก. อันเขาละเว้น, อันเขาทำลาย, อันเขาเลิกละ
โอสฺสชน : นป. การสละ, การเลิก, การปล่อย
โอสฺสฏฐ : กิต. สละแล้ว, เลิกแล้ว, ปล่อยแล้ว
โอหาย : กิต. สละแล้ว, เลิกแล้ว