ปุปฺผ : นป. ดอกไม้; เลือด, ระดูของหญิง
โลหิต : ๑. นป. โลหิต, เลือด;
๒. ค. แดง
อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
ปุปฺผก : นป. เลือด
โสณิต : (นปุ.) โลหิต, เลือด. โสณฺ วณฺเณ, โต, อิอาคโม. ส. โศณิต.
อุตฺตตฺต : (นปุ.) เลือด. วิ. อุทฺธํ ตตฺตํ อุตฺตตฺตํ. อุทฺธํปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โต, ปสฺส โต.
อุณฺห : (วิ.) อุ่น, อบอุ่น, ร้อน. ส. อุษฺณ.
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
นิริงฺคินี : (อิต.) เส้นเลือด, สายเลือด. นิ+ ริงฺคินี. ส. นิริงฺคินี ผ้าคลุม.
มงฺกุณ : (ปุ.) เรือด, ชื่อสัตว์เล็กชนิดหนึ่งอยู่ตามร่องและที่นอนกัดกินเลือดคน.
มธุมุตฺต : (นปุ.) เบาหวาน ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าปกติ.
รุธิร : นป. เลือด, โลหิต
รุหิร : นป. เลือด, โลหิต
โลหิตภกฺข : ค. ซึ่งกินเลือด, สัตว์ที่เลี้ยงด้วยเลือด
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
อุสฺมาเตช : (ปุ.) ไฟไออุ่น, ไฟที่ยังกายให้ อบอุ่น.
อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
โอสธิกา : อิต. ยารักษาโรค, ยานอก, การบ่ม, การชะด้วยน้ำอุ่น
อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติมานี : (วิ.) หามานะมิได้, ไม่มีมานะ.
อนติริตฺต : (วิ.) น้อย, ขาดแคลน, มิใช่เดน, ไม่เป็นเดน.
อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
อนนุจฺฉวิก : (วิ.) อันไม่สมควร.
อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
อนนุวชฺช : (วิ.) อัน...ไม่พึงติเตียน.น+อนุ+วทฺ+ณฺยปัจ.
อนปทาน : (วิ.) มีมารยาทไม่สมควร. น+อปทาน
อนเปกฺข : (วิ.) เฉยเมย.
อนโวสิต : ค. ไม่สมบูรณ์, ไม่สำเร็จ
อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
อนสิตฺวาน : กิต. ไม่ได้กินแล้ว, อดอยากแล้ว
อนสุยฺย : กิต. ไม่บ่น, ไม่ริษยา
อนสุโรป : ป. ความไม่โกรธ, ความไม่เกลียด
อนสูยก : ค. ซึ่งไม่บ่น, อันไม่ริษยา
โอน : (วิ.) หย่อน, พร่อง, ไม่เต็ม, ถอย. อูนฺ ปริหานิเย, โณ.
อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
อูน, อูนก : ค. หย่อน, พร่อง
เอน : ส. นี้, คนนี้, สิ่งนี้
กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.