Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เลื่อมใสศรัทธา, เลื่อมใส, ศรัทธา , then ลอมส, ลอมสศรทธา, เลื่อมใส, เลื่อมใสศรัทธา, ศรทธา, ศรัทธา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เลื่อมใสศรัทธา, 42 found, display 1-42
  1. ปสีทติ : ก. เลื่อมใส, ศรัทธา, ยินดี, สะอาด, บริสุทธิ์
  2. อภิปฺปสีทติ : ก. ศรัทธา, เลื่อมใส, เชื่อถือ
  3. ปสีทน : นป., ปสีทนา อิต. ความเลื่อมใส, ความศรัทธา, ความยินดี, ความสะอาดความบริสุทธิ์
  4. ปสนฺน : ค. ผ่องใส, เบิกบาน, พอใจ, เลื่อมใส ; ไหลออก
  5. อภิสทฺทหติ : ก. เชื่อมั่น, เชื่อถือ, เลื่อมใส, นับถือ
  6. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  7. วิปฺปสีทติ : ก. เลื่อมใส
  8. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  9. ปสาเทติ : ก. เลื่อมใส, ให้ผ่องแผ้ว, ให้พอใจ
  10. สมฺปสีทติ : ก. เลื่อมใส, สงบเงียบ
  11. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  12. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  13. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  14. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  15. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  16. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  17. ปริปฺลวปสาท : ค. มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย
  18. ปสนฺนจิตฺต : ค. มีจิตเลื่อมใส, มีจิตยินดีแล้ว
  19. ปสาทก : ค. ซึ่งเลื่อมใส, ซึ่งทำให้เลื่อมใส, สมควร, ดี
  20. ปสาทนีย : ค. อันเป็นที่ตั้งแห่งเลื่อมใส, น่าเลื่อมใส
  21. ปาสาทิก : ค. น่ารัก, น่าเลื่อมใส, น่าพอใจ
  22. พุทฺธปสนฺน : ค. ผู้เชื่อหรือเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า
  23. พุทฺธิก : (วิ.) ผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า วิ. พุทฺเธ ปสนฺโน พุทฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  24. ยถาสทฺธ : ก. วิ. ตามศรัทธาของตน, ตามความเชื่อของตน
  25. สทฺธ : ค. มีศรัทธา, มีความเชื่อ
  26. สมฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความชื่นใจ, ความแจ่มใส
  27. สมฺปสาทนิย : ค. ควรเลื่อมใส
  28. สสทฺธ : (วิ.) เป็นไปด้วยสัทธา, มีศรัทธา.
  29. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  30. อนุพฺพต : ค. ผู้มีวัตรปฏิบัติอันสมควร, ผู้เชื่อถือ, ผู้เลื่อมใส
  31. อปฺปสนฺน : ค. ๑. ไม่เลื่อมใส ; ๒. ไม่ใส, ไม่ผ่องใส
  32. อปฺปสาท : ป. ความไม่เลื่อมใส
  33. อปฺปสาทน : (วิ.) ไม่ทำให้เลื่อมใส, เลว, โกง, หลอกลวง.
  34. อภิปฺปสนฺน : ค. อันเลื่อมใสยิ่ง, อันผ่องใสยิ่ง
  35. อภิปฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ
  36. อภิปฺปสาเทติ : ก. ให้เลื่อมใส, ให้เชื่อถือ
  37. อสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
  38. อสฺสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
  39. อสฺสทฺธิย : นป. ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา
  40. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  41. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
  42. อุรุเวลกสฺสป : (ปุ.) อุรุเวลกัสสป ชื่อชฏิลผู้ เป็นพี่ใหญ่ แห่งชฏิลสามพี่น้อง ภายหลัง เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและขอบวช.
  43. [1-42]

(0.0577 sec)