เวลา : อิต. กาล, คราว, สมัย
เวลาติกฺกม : ป. การล่วงเวลา
กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
ติถ : ป. ไฟ; เวลา; ความรัก
นฺหานเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่อาบ, เวลาแห่ง การอาบ.
ภตฺตเวลา : อิต. เวลาอาหาร
โมจนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ปลด, ฯลฯ.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
สุริยุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์, เวลาเช้า, เวลาได้อรุณ.
อติเวลา : (อิต.) เวลาอันเป็นไปล่วงซึ่งเวลา, เวลายิ่ง, เวลาเกิน.วิ.เวลํอติกฺกมิตฺวาปวตฺตนาเวลาอติเวลา.
อรุณุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ.
อเวลา : อิต. เวลาอันไม่สมควร, ไม่ใช่เวลา
อุรุเวลา : (อิต.) กองทราย, กองทรายใหญ่, แดนทราย, อุรุเวลา ชื่อตำบลที่พระมหา บุรุษไปทำความเพียรและได้ตรัสรู้.
โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
อาเวลา : อิต. พวงมาลัย, เครื่องประดับศีรษะ, อุบะ
ทินจฺจย : (ปุ.) เย็น (เวลา..), เวลาเย็น, เวลา ใกล้ค่ำ, วิ. ทินานํ อจฺจโย อติกฺกโม อวสานํ วา ทินจฺจโย.
กาลวาณี : (ปุ.) คนพูดถูกเวลา, คนพูดถูกกาล เวลา.
ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
นาฬิก : (ปุ.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
นาฬิกา : (อิต.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
สญฺฌา : อิต. เย็น (เวลา)
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อปารุต : ค. เปิด (ประตู) , ซึ่งถูกเปิดแล้ว
อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
อติเวล : ก. วิ. เกินเวลา, เวลาอันยาวนาน
กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
กสิณมณฺฑล : นป. วัตถุกลมๆ เช่น กระด้ง สำหรับเพ่งเวลาทำกัมมัฏฐาน
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
กาลนฺตร : นป. ระหว่างกาลเวลา, กาล, สมัย
กาล (ปฺ) ปเวทน : นป. การบอกเวลา, การแพร่ข่าว, การตาย
กาลโภชน : นป. การบริโภคตามเวลา
กาลวาที : ค. ผู้พูดตามเวลา
กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
กาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยเวลา, ประกอบใน เวลา, เกี่ยวกับเวลา, ติดกับเวลา.
กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
เขเปติ : ก. ปล่อยให้สิ้นไป (เวลาหรือสมบัติ), ให้เวลาล่วงเลยไป
จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
จตุมาสจฺจย : (วิ.) อันเป็นไปล่วงแห่งเดือนสี่, อันเป็นไปล่วงสิ้นเดือน ท. สี่, สิ้นเวลา สี่เดือน.
จิรกาล : อ. ตลอดเวลาอันยาวนาน, ชั่วกาลนาน
จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
ฉายามาน : นป. การนับหรือการวัดเงา, การนับเวลา
ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.