Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เวไนยสัตว์, เวไนย, สัตว์ , then เพไนย, วนย, เวไนย, เวไนยสัตว์, สัตว์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เวไนยสัตว์, 326 found, display 1-50
  1. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  2. ปาณิ : ป. มือ, ฝ่ามือ; สัตว์; เครื่องมือทำด้วยไม้ของช่างปูน, เกรียง
  3. โลก : ป. โลก, สัตว์, พลเมือง
  4. กิฏฐาท : ค. ผู้บริโภคข้าว, (สัตว์) ที่กินข้าวกล้าเป็นอาหาร
  5. ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
  6. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  7. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  8. มณฺฑุก มฺณฺฑูก : (ปุ.) กบ (สัตว์ ๔ เท้า อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก) วิ. มณฺเฑ-ติ ชลํ ภูเสตีติ มณฺฑุโก มณฺฑูโก วา. มณฺฑฺ ภูสเน, อุโก. ศัพท์หลัง ทีฆะ.
  9. สรีรึ : (ปุ.) สัตว์ วิ. สรีรสํขาโต กาโย อสฺส อตฺถิ โส สรีรี. อี ปัจ.
  10. หินฺทคู : (ปุ.) สัตว์ วิ. หินฺทํ มาณํ คจฺฉตีติ หินฺทคู(ผู้ถึงความตาย). หินฺท+คมฺ+รู ปัจ. ลบที่สุดธาตุ. ไตร. ๒๕.
  11. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  12. กกฺกฏ กกฺกฏก : (ปุ.) ปู (สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) วิ. เก กฎตีติ กกฺกโฏ กกฺกฏโก วา. กปุพฺโพ, กฏฺ วสฺสาวรณคตีสุ, กุกฺ อาทาเน วา, อโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์หลังลง ก สกัด. ส. กรฺกฏ.
  13. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  14. กณฺณชลุกา กณฺณชลูกา : (อิต.) กิ้งกือ, ตะขาบ, ตะเข็บ ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด หนึ่งมีตีนมากคล้ายตะขาบแต่ตัวเล็กกว่า.
  15. กณฺหตุณฺฑ : (ปุ.) สัตว์มีปากดำ, ชนี. วิ. กณฺหํ ตุณฺหํ มุขํ ยสฺส โส กณฺหตุณฺโฑ.
  16. กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
  17. กมฺพลสุตฺต : นป. ด้ายขนสัตว์
  18. กมฺพลี : ค. ผู้มีผ้าขนสัตว์
  19. กมฺพลีย : นป. ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง
  20. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  21. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  22. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  23. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  24. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  25. กรี : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้าง, ช้างพลาย, ไอยรา. ส. กริน.
  26. กเรณุ : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้างพลาย, ช้างสาร. กร+อิณุปัจ. ส. กเรณุ, กรรณู.
  27. กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
  28. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  29. กากสีส : ๑. นป. หัวของกา, ศีรษะของกา; ๒. ค. (สัตว์นรกขุมหนึ่ง) มีหัวเหมือนหัวกา
  30. กามภว : (ปุ.) ภพของสัตว์ผู้เสพกาม, ภพของ สัตว์ผู้ยินดีในกาม, กามภพ.
  31. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  32. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  33. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  34. กิญฺจน : (นปุ.) กิเลสชาตเครื่องกังวล, ความกังวล, ความห่วงใย, กิเลสชาตผู้ย่ำยีสัตว์ วิ. กิญฺเจติ สตฺเต มทฺทตีติ กิญฺจนํ. กิจิ มทฺทเน, ยุ.
  35. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  36. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  37. กิเลสกาม : (ปุ.) กิเลสอันสัตว์พึงใคร่, กิเลสที่ สัตว์พึงใคร่, กิเลสให้สัตว์ใคร่, กิเลสเป็น เหตุใคร่.
  38. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  39. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  40. กุกฺกุฏณฺฑ : (นปุ.) ไข่ไก่. กุกฺกุฏ+อณฑ. ไข่ ของสัตว์อื่นดด นักศึกษาพึงประกอบศัพท์ โดยเอาศัพท์นี้เป็นอุ.
  41. กุจฺฉิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ตั้งอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้ เกิดอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้อยู่ในท้อง.
  42. กุณฺฑ : (ปุ.) เหี้ย, จะกวด (สัตว์เลื้อยคลานรูป ร่างคล้ายจิ้งจก ตะกวด ก็เรียก), ไฟ, เตาไฟ, หลุมไฟ. กุณฺฑ ฑาเห, อ.
  43. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  44. กุถ : (ปุ. นปุ.) เครื่องลาดหลังช้าง, ผ้าเครื่อง ลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าขนสัตว์, ผ้าสักหลาด. กปฺ สชฺชนายํ โถ, ปฺโลโป, อสฺส. ส. กุถ.
  45. กุมฺภีล : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในห้วงน้ำ, จระเข้, กุมภา กุมภีล์. วิ. กุมเภ อุลตีติ กุมฺภีโล. กุมฺภปุพฺ- โพ, อุลฺ คมเน, อ, อุสฺสี. ส. กุมฺภีร.
  46. กุมฺมิค : ป. สัตว์เล็กๆ
  47. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  48. ขค ขคฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในอากาศ, นก. วิ. เข อากาเสคจฺฉตีติ ขโค ขคฺโค วา. ขปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. รูปฯ ๕๗0 วิ. เขน คจฺฉตีติ ขโค. ส.ขค.
  49. ขคาทิพีช : (นปุ.) ฟองแห่งสัตว์มีนกเป็นต้น.
  50. ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-326

(0.0684 sec)