Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เว้น , then วน, เว้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เว้น, 182 found, display 1-50
  1. ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
  2. ปชหติ : ก. ละ, สละ, เว้น
  3. อภินิวชฺเชติ : ก. กำจัด, เว้น, หลีกเลี่ยง
  4. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  5. อุปรม : (วิ.) งด, เว้น, ยินดี.
  6. วน : นป. ป่า
  7. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  8. วินา : อ. เว้น
  9. อญฺญตฺร : ก.วิ. ๑. ที่ใดที่หนึ่ง ; ๒. เว้น
  10. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  11. กายทณฺฑาทิวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากอาชญา มีอาชญาทางกายเป็นต้น.
  12. กิเลสาทิมลวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากมลทิน มีกิเลสเป็นต้น.
  13. นานา : (อัพ. นิบาต) เว้น, เว้นแต่, เว้นเสีย, นอกจาก, ต่างๆ, มาก. ส. นานา.
  14. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  15. ปชหิต : กิต. ละแล้ว, เว้นแล้ว
  16. ปฏิวิรต : ค. ผู้งดเว้นแล้ว, ผู้เว้นขาดแล้ว
  17. ปฏิวิรติ : อิต. การงดเว้น, การเว้นขาด
  18. ปฏิวิรมติ : ก. งดเว้น, เว้นขาด
  19. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  20. ปพฺพชติ : ก. ออกไป, ออกบวช, เว้นทั่ว (จากชีวิตการครองเรือน), บวช
  21. ปพฺพชน : (นปุ.) การออก, การออกไป, การบวช, การเว้น. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, ยุ. การค้นหา, การแสวงหา. วชฺ มคฺคเน.
  22. ปริวชฺชน : นป. การเว้น
  23. ปริวชฺเชติ : ก. เว้น, ละ
  24. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  25. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  26. มหาสาวก : (ปุ.) พระสาวกผู้ใหญ่ เว้นพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เพราะสองท่านนี้ท่านเป็นพระอัครสาวก. แต่คำว่าพระมหาสาวก ๘๐ ก็รวมด้วย.
  27. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  28. มุสาวาทาเวรมณีอาทิ : (วิ.) (วจีสุจริต) มีเจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดเท็จ เป็นต้น.
  29. ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
  30. รตฺตูปรต : ค. ซึ่งงดเว้นจากการกินในเวลากลางคืน
  31. รหิต : ค. เว้น, ปราศจาก
  32. วชฺช : ๑. นป. โทษ, ความผิด; เครื่องดนตรี; สิ่งที่ควรเว้น; ๒. ค. อันเขาพึงกล่าว, ควรพูดติ
  33. วชฺชนีย : ค. ควรหลีกเลี่ยง, ควรงดเว้น
  34. วชฺชิต : กิต. เว้นแล้ว
  35. วชฺเชติ : ก. ย่อมเว้น
  36. วิรต : กิต. งดเว้นแล้ว
  37. วิรติ : อิต. การงดเว้น
  38. วิรมณ : นป. การงดเว้น
  39. วิรมติ : ก. งดเว้น
  40. วิรหิต : กิต. เว้นแล้ว
  41. วิวชฺชน : นป. การเว้น, การสละ
  42. เวรมณี : อิต. การงดเว้น
  43. สมฺปริวชฺเชติ : ก. เว้น, หลีกเลี่ยง
  44. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  45. สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
  46. สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  47. สาวชฺช : (วิ.) อันเป็นไปกับด้วยโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, อันเป็นไปกับด้วยโทษ, มีโทษ. สห+วชฺช แปลง สห เป็น สา.
  48. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  49. อนฺตร : (วิ.) เว้น, ว่าง, อื่น.
  50. อนฺตเรน : (อัพ. นิบาต) ระหว่าง.เป็นอัพภันตรวาจก. เว้นเสีย, นอกจาก, ต่าง ๆเป็นวัชชนัตถวาจก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-182

(0.0399 sec)