Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เว , then เพ, เว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เว, 111 found, display 1-50
  1. เว : อ. เว้ย, โดยแท้
  2. เวตน : นป. สินจ้าง
  3. เวตนิก : ป. คนรับสินจ้าง
  4. เวติ : ก. หายไป, ร่วงโรย
  5. เวเทติ : ก. รู้สึก, รู้
  6. เวเนยฺย : ค. ผู้ควรแนะนำ, ผู้พอสอนได้
  7. เวปุลฺล : นป. ความไพบูลย์, ความมั่งคั่ง
  8. เวภาร : ป. ชื่อภูเขา
  9. เวมติก : ค. สงสัย, ลังเล
  10. เวมานิก : ค. ผู้อยู่ในวิมาน
  11. เวสมฺม : นป. ความไม่เสมอกัน, ความไม่เข้ากัน
  12. เวสาข : ป. ชื่อเดือน ๖
  13. เวสายี : ป. ชื่อพญายม
  14. เวสารชฺช : นป. ความเป็นผู้แกล้วกล้า
  15. เวสาลี : อิต. ชื่อเมือง
  16. อาเวสน : (นปุ.) อาเวสนะ ที่ทำการของศิลปิน, ศาลาทำการของพวกศิลปฺ ทรวดทรง, เรือน. ยุ ปัจ.
  17. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  18. จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
  19. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  20. เทเวตาปริโภค : ค. ซึ่งเทวดาควรบริโภค, ควรเป็นของบริโภคสำหรับเทวดา
  21. นิเวเทติ : ก. ประกาศให้ทราบ, แจ้งให้ทราบ
  22. นิเวสน : นป. ดู นิเว
  23. นิเวเสติ : ก. ให้เข้าไป, ตั้งมั่น, มั่นคง
  24. ปฏินิเวเทติ : ก. ประกาศ, นำข่าวมา
  25. ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
  26. ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  27. ปภาเวติ : ก. ให้เจริญ, อบรม, พอกพูน, ส่งเสริม
  28. ปริเวสก : ค. ผู้อังคาส, ผู้เลี้ยงอาหาร
  29. ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
  30. ปริสฺสาเวติ : ก. กอง
  31. ภาเวติ : ก. เจริญ, ทำให้เกิด
  32. วิภาเวติ : ก. ทำให้แจ้ง, ชี้แจง
  33. วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
  34. สมฺภาเวติ : ก. นับถือ, ยกย่อง
  35. สาเวติ : ก. ให้ฟัง, ประกาศ
  36. สาเวตุ : ค. ผู้ประกาศ
  37. อญฺญาตกเวสน : นป. ดู อญฺญาตกเว
  38. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  39. อนุสฺสาเวติ : ก. ให้ได้ยิน, แจ้งให้ทราบ
  40. อนุสาเวติ : ก. ประกาศ, แจ้งให้ทราบ
  41. อภิเวเทติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ประกาศ
  42. อาภาเวติ : ก. ให้เจริญ, ให้งอกงาม, ดำเนิน
  43. อาเวลิต, - เวลฺลิต : ค. ซึ่งโค้ง, ซึ่งม้วนเข้า
  44. อาเวลิตสิงฺคิก : ค. มีเขาโค้ง, มีเขางอ
  45. อุทฺทาเวติ : ก. รื้อออก, ทำลาย
  46. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  47. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  48. กิ : (วิ.) เช่นกับ, เช่นกัน, คล้าย, เสมอ, เหมือน. กิ เวลมฺเพ, อ.
  49. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  50. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-111

(0.0111 sec)