Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสน , then สน, เสน, เสนะ, เสนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสน, 385 found, display 1-50
  1. เสน : (นปุ.) การนอน วิ สยนํ เสนํ. ที่นอน วิ. สยติ อเตรฺติ เสนํ. สิ สยเณ, ยุ.
  2. เสน, เสน : ป. เหยี่ยวดำ; ที่นอน
  3. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  4. เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
  5. จีนปิฏฐ : นป. ชาด, เสน, ตะกั่วแดง
  6. สุรเสน : (ปุ.) สุรเสนะ ชื่อแคว้นอยู่ระหว่างแม่น้ำสินธุกับยมุนา มีราชธานีชื่อ มถุรา.
  7. จตุราปสฺเสน : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พักพิงมีสี่ประการ
  8. ปนฺตเสน : ค. ผู้อยู่ในที่สงัด, ผู้อยู่ห่างไกลจากผู้คน, เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  9. เสน : ค. พร้อมด้วยทหาร
  10. สุเสน : (ปุ.) เล็บเหยี่ยวชื่อพรรณไม้อย่างหนึ่งมี ๒ ชนิด. วิ. สุฎฺฐุ สิโนตีติ สุเสโน. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สิ พนฺธเน, ยุ.
  11. เสน : (อิต.) กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. สิ พนฺธเน, โน, อิตฺถิยํ อา. แปลว่า ไพร่พล ก็มี คำกลอนใช้เสนี.
  12. อปสฺเสนผลก : (นปุ.) กระดานหก, กระดานพิง, พนักพิง.
  13. เอกเสน : ก. วิ. โดยส่วนเดียว, อย่างแน่นอน
  14. จีนปิฎฺฐ : (นปุ.) ชาด, เสน (สีแดงปนเหลือง). วิ. จีนเทสปฺปวตฺตํ ปิฏฐ จีนปิฏฺฐ.
  15. พลิมุข : (ปุ.) ลิง, เสน.
  16. มกฏ มกฺกฏ : (ปุ.) ลิง, เสน. วิ. มกตีติ มกโฏ มกฺกโฏ วา. มกิ จลเน, อโต, ตสฺส โฏ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ก.
  17. สาขามิค : (ปุ.) ลิง, เสน. วิ. สาขายํ มิโค ปสุ สาขามิโค.
  18. สารงฺค : (ปุ.) เนื้อ, เนื้อทราย, กวาง, จามจุรี. วิ. เสน สุเขน รงฺคติ ปลายตีติ สารงฺโค, สปุพฺโพ, รงฺคฺ คมเน, อ. ส. สารงฺคฺ.
  19. สินฺทูร : (นปุ.) ชาด, เสน. สนฺทฺ ปสเว, อูโร, อสฺสิ.
  20. เสนาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนและที่เป็นที่นั่ง, ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, เสนาสน์.
  21. เสนาสนคาหาปก : ป. ผู้แจกจ่ายเสนาสนะ
  22. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  23. ปนฺตเสนาสน : นป. เสนาสนะอันสงัด, ที่พำนักซึ่งห่างไกลผู้คน
  24. กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
  25. กริสาปณ : (ปุ.) กหาปณะ วิ. รูปสฺส กรีเสน กโต สํโวหารปทตฺโพ กริสาปโณ นาม.
  26. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  27. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  28. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  29. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  30. คุณิฏฺฐ คุณิย : (วิ.) มีคุณที่สุด มีคุณกว่า. คุณวนฺตุ, คุณมนฺตุ+อิฏฐ, อิย ปัจ. ลบ วนฺตุ, มนฺตุ วิ. สพฺเพ อิเม คุณวนฺโต คุณมนฺโต วา, อยมิเมสํ วิเสเสน คุณวา คุณมา วาติ คุณิฏฺโฐ คุณิโย. รูปฯ๓๘๐.
  31. ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
  32. ตชฺชารี : (อิต.) ตัชชารี ชื่อมาตรา นับเท่ากับ ๓๖ อณู. วิ. อณโว ฉตฺตึส ตชฺชารี นาม. ตํ ตํ อตฺตโน นิสฺสยํ มลินกรณวเสน ชราเปตีติ ตชฺชารี ชรฺ วโยหานิมฺหิ. ณี.
  33. ตทงฺคปหาน : (นปุ.) การละด้วยองค์นั้น ๆ วิ. เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละกิเลสด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น วิ. ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละ กิเลสด้วยสามารถแห่งองค์นั้น ๆ ของฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น. วิ. ปฐมฌานาทิสฺส ตสฺส ตสฺส องฺคสฺส วเสน กิเลสสฺส ปหานํ. การละชั่วคราว.
  34. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  35. ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
  36. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  37. นิธานค : (วิ.) (ทรัพย์) อันถึงแล้วด้วยสามารถ แห่งอันเก็บ วิ. นิธานวเสน คตํ ปวตฺตํ นิธานคํ.
  38. นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
  39. นิภา : (อิต.) ความรุ่งเรืองโดยหาเศษมิได้, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสงสว่าง. วิ. นิสฺเสเสน ภาตีติ นิภา. กฺวิ ปัจ. กัจฯ ๖๓๙.
  40. ปลวงฺก : ป. ลิง, ลิงเสน
  41. พฺยคฺฆี : (อิต.) มะอึก วิ. ภยกรณวเสน พฺยคฺฆสทิสตาย พฺยคฺฆี. อี ปัจ.
  42. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  43. พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
  44. ยสวิโลป เสนาปติฏฺฐานาทิก : (วิ.) (อุปสฺคฺค) มีการถอดซึ่งยศและการลดซึ่งตำแหน่ง มีตำแหน่งแห่งเสนบดี เป็นต้น.
  45. สผรี : (อิต.) ปลาตาตุ่ม วิ. สยนโต ปสฺเสน ผรตีติ สผรี. อี ปัจ. ปลาเค้า ก็แปล.
  46. สมฺภตฺต : (ปุ.) เพื่อนคบกันมั่นคง. วิ. สพฺพกาลํ ภชตีติ สมฺภตฺโต. ภชฺ เสวายํ โต. อถวา, สกาโร พนฺธเว, โส วิย พนฺธโว วิย อญฺญมญฺญํ วิสาสวเสน ภชตีติ สมฺภตฺโต.
  47. สมุห สมูห : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, กลุ่ม, ชุมนุม. วิ. สมฺมา วิเสเสน จ อูหเต ปุญฺชีภูตตฺตาติ สมุโห สมูโห วา. สมํ สหาวยเวน อูหตีติ วา สมุโห สมูโห วา. อูหฺ ปฐเน, อ. ศัพท์ต้นรัสสะ. ส, สมูห.
  48. สลฺลกตฺต : (ปุ.) หมอบาดแผล, หมอผ่าตัด, ศัลยแพทย์. วิ. กาเย ปวิฏฐสราทิสลฺลํ นีหรณวเสน กนฺตตีติ สลฺลกตฺโต. สลฺลปุพฺโพ, กติ เฉทเน, โต, อิโลโป.
  49. สีกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย วิ. สีตํ กโรตีติ สีกโร. สิญฺจตีติ วา สีกโร. สิจฺ ปคฺฆรเณ, อโร, จสฺส โก. วาตวเสน วา ตโต ตโต สรตีติ สีกโร. สรฺ คติยํ, อ, อสฺส อี, มชฺเฌ กฺอาคโม จ. ส. ศีกร, สีกร.
  50. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-385

(0.0514 sec)