เสว : (ปุ.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
อาภุญฺชติ : ก. กิน, เสวย, เสพ
ปฏิเสวติ : ก. เสพเฉพาะ, เสพ (เมถุน), ประพฤติ, ปฏิบัติตาม, เสพอาศัย, ส้องเสพ, ใช้ (ปัจจัยสี่)
อุปนิเสวติ : ก. เข้าไปซ่องเสพ, สมาคม, คบหา
อุปเสวติ : ก. ซ่องเสพ, คบหา, ประพฤติ, รับใช้
กามคิชฺฌ, กามคิทฺธ, กามคิทฺธิมา : ค. ผู้มักมากในการเสพกาม
กามธาตุ : อิต. กามธาตุ, ธาตุแห่งกาม, โลกที่ยังเกี่ยวข้องอยู่ด้วยการเสพกาม
กามปิปาสา : อิต. ความกระหายในกาม, การอยากเสพกาม
กามภว : (ปุ.) ภพของสัตว์ผู้เสพกาม, ภพของ สัตว์ผู้ยินดีในกาม, กามภพ.
กามโภคี, กามโภชี : ค. ผู้มีปกติเสพกาม, ผู้หมกมุ่นในกาม
กามเสวนา : อิต. การเสพกาม
กามเสวี : ค. ผู้เสพกาม
กามุปโภค : ป. การบริโภคกาม, การเสพกาม
ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
นิพฺพิเสวน : (วิ.) มีอันเสพผิดไปปราศแล้ว วิ. นิคฺคตา วิเสวนา ยสฺส ตํ นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ).
นิหีนเสวี : ค. ผู้เสพของเลว, ผู้คบคนเลว
ปฏิเสวน : นป. การเสพเฉพาะ, การประพฤติการปฏิบัติตาม, การใช้
ปฏิเสวิตุ : ป. ผู้เสพเฉพาะ, ผู้ประพฤติ, ผู้ใช้
ปรทารเสวนา : (อิต.) การเสพภรรยาของคนอื่น.
ภชก : (วิ.) ผู้คบ, ผู้เสพ, ผู้รับใช้, ผู้คุ้นเคย. ภชฺ เสวายํ วิสฺสเส จ. ณฺวุ.
ภชติ : ก. คบ, ส้องเสพ, สมาคม, คบหา
รติกีฬา : อิต. การเสพกาม
วิสย : ป. การผูก; การเสพ; ขอบเขต, แดน, ลักษณะ
เสวน : (วิ.) เสพ, คบหา, รับใช้, ปฏิบัติ, ศึกษา, เล่าเรียน.
เสวนา เสวา : (อิต.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
อนุภุตฺต : กิต. ถูกกินแล้ว, ถูกเสพแล้ว
อนุภูยมาน : กิต. ถูกกินอยู่, ถูกเสพอยู่, ถูกเสวยอยู่
อนุภูยมานตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกกิน, ความเป็นผู้ถูกเสพ, ความเป็นผู้ถูกเสวย
อสนฺถว : ป. การไม่ส้องเสพ, การไม่สมาคมด้วย
อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
อสสฏฺฐ : ค. ไม่เกี่ยวข้อง, ไม่ระคน, ไม่ส้องเสพ
อเสวนา : อิต. การไม่เสพ, การไม่คบค้าสมาคม, การไม่เอาอย่าง
อาภุญฺชน : นป. การกิน, การเสวย, การเสพ
อาเสวน : (นปุ.) การเสพ โดยมาก.
อาเสวนา : (อิต.) การเสพ โดยมาก.
อาเสวี : ค. เสพติด, เสพจนคุ้น
อุปนิสฺสยติ : ก. อาศัยอยู่, นอนเนื่องอยู่, ซ่องเสพ, เกี่ยวข้อง
อุปนิเสวน : นป. การซ่องเสพ, สมาคม, การคบหา
อุปภุญฺชก : ค. ผู้บริโภค, ผู้เสพ
อุปเสวนา : อิต. การซ่องเสพ, การ ประพฤติ, การรับใช้
อุปเสวี : ค. ผู้ซ่องเสพ, ผู้คบหา, ผู้รับใช้
สพ.พทท : (ปุ.) การให้ซึ่งสิ่งทั้งปวง.
เสวติ : ก. คบหา
นิเสวติ : ก. ย่อมคบ, ย่อมติดตาม
สเสว : ป. การคบหา
สเสวติ : ก. คบหา
อาเสวติ : ก. คบค้าสมาคม, รับใช้
อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
กสาว : (ปุ.) รสฝาด วิ. กํ ปานิยํ เสวเตติ กสาโว. กปุพฺโพ, สี เสวายํ, อโว. กํ สวาเปติ วา กสาโว. กปุพฺโพ, สุ ปสเว, อ, โณ วา.