ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
กิ : (วิ.) เช่นกับ, เช่นกัน, คล้าย, เสมอ, เหมือน. กิ เวลมฺเพ, อ.
ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
นิจฺจ : (อัพ. นิบาต) ในกาลแน่นอน, ในกาล ทุกเมื่อ, เสมอ, ทุกเมื่อ.
นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
นิพนฺธ : อ. เนือง ๆ, เสมอ, เป็นประจำ
ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
อพฺโพจฺฉินฺน : ค. ไม่ถูกตัด, ไม่ขาด, เสมอ, เป็นนิจ
สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
อภิกฺขณ : (วิ.) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ร่ำไป.
อภิณฺห : (วิ.) เฉพาะวัน, ทุกวัน ๆ, เสมอ (ร่ำไปเป็นนิตย์).
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว
ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
อวงฺค : (นปุ.) หน้า.
อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
อาโลกสนฺธิ : (อิต.) ช่องลม, หน้าต่าง. วิ. อาโลกานํ อาตปานํ ปวิสนฏฺฐานํ สนฺธิ ฉิทฺทนฺติ อาโลกสนฺธิ. (หน้า ๑๐๒)
อุณฺหิต : (นปุ.) มงกุฏ, หมวก, เครื่องประดับ หน้า. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โต, อิอาคโม.
โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
กกฺกุ : นป. แป้งผัดหน้า
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
กมฺมสริกฺขก : ค. พึงเห็นสมด้วยกรรม, พึงเห็นเสมอด้วยกรรม
กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
กยวิกฺกยี : ป. พ่อค้า, นายหน้า
กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.