ขาณ : ป., นป. ตอไม้, เสา
ขาณุก : ป. ตอไม้, หลัก, เสา
นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
สา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย.
เส : (อัพ. นิบาต) แล.
เกนิปาต : (ปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ. เก ชเล นิปาตียเตติ เกนิปาโต. กระแชง เสา กระโดง?. ส. เกนิปาต.
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
เอสิก : นป. เสา
โตสาเปติ, โตเสติ : ก. ให้ร่าเริง, ให้ยินดี, ให้พอใจ
สมสฺสาเสติ : ก. ปลอบใจ, โปร่งใจ
อสฺสาเสติ : ก. ให้โล่งใจ, ให้สบายใจ, ปลอบใจ
กมฺภ กุมฺภก : (ปุ.) เสากระโดง. กมุ อิจฺฉายํ, โภ, อสฺสุ, สกตฺเถโก. อภิฯ เป็น นปุ.
กุปก : (ปุ.) เสากระโดง. กปุ สามตฺถิยํ, อ. ก สกัด.
กุมฺภก : นป. เสากระโดง
กูป : (ปุ.) หม้อ, ช่อง, ขุม, หลุม, บ่อ, บ่อน้ำ เสากระโดง. วิ. กวนฺติ นทนฺติ มณฺฑูกา เอตฺถาติ กูโป. กุ สทฺเท, โป, ทีโฆ. กุ อปฺปโก อาโป อสฺมินฺติ วา กูโป กุ+อาป. ส. กูป.
กูปก : (ปุ.) เสากระโดง, กูปฺ คมเน, ณฺวุ, อปจฺจโย วา สกตฺเถ โก. ส. กูปก.
กูป, - ปก : ป. หลุม, บ่อ, โพรง; เสากระโดงเรือ
จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
ทฺวารโตรณ : นป. เสาระเนียดประตู
ทารุถมภ : (ปุ.) เสาไม้.
นลนฬ : (ปุ.) ไม้ไผ่, ไม้รวก, ไม้อ้อ, ไม้เสา, นิ นเย, อโล. ลบ อิ ศัพท์หลังแปลง ล เป็น ส. นฑ, นล.
ยฏฺฐิ : อิต. ไม้เท้า, ไม่ถือ, หลักเสา; มาตราวัดเท่ากับ ๗ รัตนะ
สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
สิลตฺถมฺภ : (ปุ.) เสาหิน.
โสรวาร : (ปุ.) วันเสาร์. ส. เสารวาร.
เหสา : (อิต.) เหสา (ฮี้) เสียงร้องของม้า วิ. เหสนํ เหสา. เหสฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. เห อิติ เสติ ปวตฺตตีติ วา เหสา. เส คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. เหษา.
อคฺคฬตฺถมฺภ : ป. เสาสำหรับใส่ลิ่ม
อฏฺฏาน : นป. เสาสำหรับขัดสี
อโยขีล : นป. เสาเหล็ก, เขื่อนเหล็ก
อวฏงฺก : (ปุ.) เสากระโดง.อวปุพฺโพ, ฏงฺกฺพนฺธเน, อ.
อาณอาณน : (นปุ.) เสาตะลุง.อาณฺธาตุในความบังคับอ, ยุ ปัจ.
อาลาน : (นปุ.) เสาตะลุง. วิ. อาลาติ อสฺมึ อเนน วา พนฺธตีติ อาลานํ อาปุพฺโพ, ลา พนฺธเน, ยุ. ส. อาลาน.
อาลาน, - ฬาน : นป. เสา, เสาตะลุง
อาฬก : (ปุ.) เสาตะลุง. อาปุพฺโพ, หนฺ พนฺธเน, ณฺวุ, นสฺส โฬ, หโลโป.
อาฬฺหก : (ปุ.) เสาตะลุง วิ. อาหนนฺติ พนฺธนฺตฺ- ยสฺมึ อเนน วา อาฬฺหโก. อาปุพฺโพ หนฺ พนฺธเน,ณฺวุ, นสฺส โฬ,วณฺณปริยาโย. ส. อาฒก.
เอสิกา : (อิต.) เสาระเนียด, เสาเขื่อน. อิสุ อิจฺฉายํ. เอสฺ คเวสเน. วา. อิโก.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
เสผาลิกา : (อิต.) สุพรรณนิการ์ ชื่อพรรณไม้ ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองแก่ ฝ้ายดำก็เรียก. วิ. เสผา ชฎา อสฺสา อตฺถีติ เสผาลิกา, เสผ+อิก ปัจ. ลฺ อาคม ในท่ามกลาง. สาหร่าย จอก แหน ก็แปล.
เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.