Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียขวัญ, เสีย, ขวัญ , then ขวัญ, สย, เสีย, เสียขวัญ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียขวัญ, 164 found, display 1-50
  1. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  2. ปทุฏฺฐ : ค. อันโทษประทุษร้ายแล้ว, เสีย, ดุร้าย, เลวทราม
  3. อคุณ : (วิ.) มิใช่คุณ, เสีย, เป็นโทษ.
  4. สย : (ปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สโย.
  5. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  6. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  7. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  8. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  9. กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
  10. กปฺปพินฺทุ : (นปุ.) จุดอันสำเร็จ, จุดอัน สมควร, จุดอันภิกษุทำบนผ้าให้เป็นของ ควรใช้สอย, กัปปพินทุ คือจุดที่พระทำบน ผ้าของพระ เพื่อทำให้เสียสีหรือเพื่อเป็น เครื่องหมายให้จำได้.
  11. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  12. ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
  13. คูถภาณี : ค. ผู้พูดเลว, พูดไม่เพราะ, พูดหยาบ; คนปากเหม็น, คนปากเสีย
  14. จกฺกฉินฺน : ค. มีจักรอันขาดแล้ว; มีวงล้อหักเสียหายแล้ว
  15. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  16. จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
  17. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  18. จาคี : ป., ค. ผู้สละ, ผู้เสียสละ, ผู้ละเลิก, ผู้ให้, ผู้บริจาค
  19. จิตนฺตรส : ค. มีระหว่างพระอังสะเต็ม, มีพระรากขวัญเต็ม, มีช่องไหปลาร้าเต็ม (มหาปุริสลักษณะ)
  20. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  21. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  22. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  23. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  24. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  25. เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
  26. ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
  27. ติณโทส : ค. มีหญ้าเป็นโทษ; อันเสียหายเพราะหญ้า
  28. ทกฺขิเณยฺยคฺคิ : ป. ไฟคือทักขิไณยบุคคล, ไฟหนึ่งในเจ็ดกองที่พุทธมามกะพึงบำรุงบำเรอบ้าง พึงเสียสละบ้าง
  29. ททฺทภ, - ธภ : ป., นป. เสียงดังทัททะภะ, เสียงดังสนั่น, เสียงดังกึกก้อง, เสียงของหนักหล่นหรือล้ม
  30. ททฺทภยติ, - ธภายติ : ก. ทำเสียงดังทัททะภะ, ส่งเสียงกึกก้อง
  31. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  32. ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
  33. ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
  34. ทุพฺพล : (วิ.) มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีกำลังชั่ว, มีกำลังเสีย, มีกำลังทราม, ไม่มีกำลัง, ทรพล, ทรพล. ส. ทุรฺพล, ทุรฺพฺพล.
  35. ทุมฺมุข : ค. ผู้มีหน้าเศร้า; ผู้มีปากเสีย, ผู้ปากร้าย, ผู้ปากกล้า
  36. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  37. ทุสฺสก : ค. ผู้ประทุษร้าย, ผู้ทำให้เสียหาย
  38. ทุสฺสติ : ก. ประทุษร้าย, ทำร้าย, ทำให้เสียหาย, โกรธเคือง
  39. ทุสฺสน : นป., ทุสฺสนา อิต. การประทุษร้าย, การทำให้เสียหาย, การโกรธเคือง
  40. ทุสฺสสฺส : (วิ.) มีข้าวกล้าเสียคือไม่มั่งคั่ง วิ. ทุ อสมิทฺธํ สสฺสํ เอตฺถาติ ทุสฺสสฺสํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  41. ทุสฺสีล : (วิ.) ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว. วิ. ทุฏฺฐ สีลํ ยสฺส โล ทุสฺสีโล. ผู้มีศีลชั่ว ผู้มี ศีลเสีย ผู้ทุศีล (ไม่มีศีล). ทุ+สีล ซ้อน สฺ.
  42. ทูสิต : ๑. กิต. (อันเขา) ประทุษร้ายแล้ว,ทำร้ายแล้ว, ทำให้เสียหายแล้ว; ๒. ค. (จิต) ซึ่งโทษประทุษร้าย, ซึ่งชั่วร้าย
  43. เทวาติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา, เทวดาล่วงเสียซึ่งเทวดา, เทวดาผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, เทวดาและเทวดาผู้ยิ่ง.
  44. โทภคฺค : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนโชคร้าย (คนมีความดีเสีย คนเสียความดี). วิ. ทุภคสฺส ภาโว โทภคฺคํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑
  45. โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
  46. ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
  47. ธนปราชย : ค. ผู้ปราชัยในทรัพย์, ผู้เสียทรัพย์
  48. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  49. ธมฺมปณฺณาการ : ป. ธรรมบรรณาการ, ของขวัญอันประกอบด้วยธรรม
  50. นฏฺฐ : ค. ฉิบหาย, เสียหาย, สูญเสีย
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-164

(0.0681 sec)