นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
รฏฺฐนิยม : (ปุ.) ความกำหนดของบ้านเมือง, รัฐนิยม.
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
โทภคฺค : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนโชคร้าย (คนมีความดีเสีย คนเสียความดี). วิ. ทุภคสฺส ภาโว โทภคฺคํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑
โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
ปโทสิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ, ซึ่งเสียหาย, ซึ่งเป็นความผิด
ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
ปลฺลาส : ป. ความผิดปกติ, ความเปลี่ยนแปลงไปในทางเสีย, การโกง
ปาริชุญฺญ : นป. ความเสื่อม, ความทรุดโทรม, ความสูญเสีย
เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
มมฺมจฺเฉทวจน : (นปุ.) คำเป็นเครื่องตัดเสียซึ่งความรักเป็นเหตุตาย.
มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
อนสฺสน : นป. ความไม่เสียหาย, การไม่สูญสิ้น
อปิสุณาวาจ : (วิ.) มิใช่ผู้มีวาจาอันบดเสียซึ่งความรัก, ผู้มีวาจามิใช่วาจาอันบดเสียซึ่งความรัก.
อปิสุณาวาจา : (อิต.) วาจามิใช่วาจาอักบดเสียซึ่งความรัก, วาจาไม่ส่อเสียด.
อรณ : (วิ.) ไม่มีข้าศึก, ไม่มีข้าศึกคือกิเลส.ไม่มีกิเลส, ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความเสีย-หาย, ไม่มีบาป, ไม่มีการรบ, ไม่มีเสียง.ส. อรณ.
อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
อายสกฺย : นป. ความดูหมิ่น, ความเสื่อมเสีย, ชื่อเสียงเสีย
อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
ปทุฏฺฐ : ค. อันโทษประทุษร้ายแล้ว, เสีย, ดุร้าย, เลวทราม
อคุณ : (วิ.) มิใช่คุณ, เสีย, เป็นโทษ.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.