ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
อุคฺโฆเสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ทำเสียงเกรียวกราว
กิตฺติโฆส : ป. การประกาศชื่อเสียง, การประกาศเกียรติคุณ
ญาเปติ : ก. ให้รู้, อธิบาย, ประกาศ
ฒ : (ปุ.) ศัพท์, เสียง, งู. ฒิ มุยฺห, อ.
ถุนาติ : ก. ทอดถอน, คร่ำครวญ; ประกาศ, กล่างถึง, ชมเชย
นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
ปญฺญายติ : ก. ปรากฏ, ประกาศ
ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
ปยิรุทาหรติ : ก. เปล่ง, ประกาศ
รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
รสนา : อิต. ลิ้น; สายรัดเอว; ความยินดี, ความอร่อย; เสียง
วฺยาขฺยาติ : ก. กล่าว, ประกาศ
สงฺโฆเสติ : ก. ป่าวร้อง, ประกาศ
สราว : ป. การร้อง; เสียง
สาเวติ : ก. ให้ฟัง, ประกาศ
อกฺขติ : ก. กล่าว, บอก, ประกาศ
อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
อภิเวเทติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ประกาศ
อาโรเจติ, - จยติ : ก. บอก, ประกาศ, โฆษณา
อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
กิตฺติสทฺท : (ปุ.) เสียงสรรเสริญ, ฯลฯ, เสียง เลื่องลือคุณ.
กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
ขฏขฏ : ค. (เสียง) ขฏะขฏะ
คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
ฑ : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
ธนิ : (ปุ.) เสียง. ธนฺ สทฺเท. อิ. รูปฯ ๖๖๓.
นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
นินท, นินาท : ป. เสียง
นินนาทิ : (วิ.) (เสียง) มีกังวาน วิ. นินฺนาโท เอตฺถ อตฺถีติ นินฺนาทิ. อิ ปัจ.
นินาท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นาโถ นินาโท. ส.นินาท. หมายถึงเสียงทั่วไป.
นิสฺสน : ป., นป. เสียง
พณ : ป. เสียง
พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.
ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
รวา : อิต. เสียง
อนุนาสิก : ค. ซึ่งเกิดทางจมูก (เสียง)
อวิสารี : (วิ.) ไม่เครือพร่า (เสียง...)วิ. พหิทฺธาปริสํองฺคุลิมตฺตมฺปินวิสรตีติอวิสารี.นวิปุพฺโพ, สรฺคติยํ, ณี.วิวิเธนนสรตีติวาอวิสารี.