Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงแข็ง, เสียง, แข็ง , then ขง, แข็ง, สยง, เสียง, เสียงแข็ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียงแข็ง, 352 found, display 1-50
  1. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  2. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  3. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  4. ขร : (วิ.) เฉียบแหลม, กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, หยาบ, ขรุขระ. ขรฺ วินาเส, อ.
  5. ขฬ : ๑. ป. คนพาล, คนชั่ว, คนกักขฬะ; ๒. ค. หยาบคาย, ดุร้าย, แข็ง, กักขฬะ
  6. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  7. : (ปุ.) ศัพท์, เสียง, งู. ฒิ มุยฺห, อ.
  8. ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
  9. ติณฺห : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, แข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน, โห, วณฺณวิกาโร.
  10. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  11. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  12. ถมฺภ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, กระด้าง, แข็ง, แข็งกระด้าง. ถภิ ปติพนฺธเน, อ.
  13. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  14. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  15. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  16. นิฏฐรนิฏฺฐร : (วิ.) กักขฬะ, กักขฬะ, แข็ง, หยาบ, หยาบช้า. นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อิโร, อุโร.
  17. นิฏฐุร : ค. หยาบคาย, โหดร้าย, รุนแรง, แข็ง, กระด้าง, สาหัส
  18. ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
  19. พาฬ : (วิ.) กักขละ, กักขฬะ, แข็ง, สาหัส, หยาบช้า, หยาบคาย, ร้าย, ร้ายกาจ, ทารุณ. วิ. อา ปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. วา คมเน วา, อโฬ.
  20. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  21. รสนา : อิต. ลิ้น; สายรัดเอว; ความยินดี, ความอร่อย; เสียง
  22. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  23. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  24. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  25. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  26. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  27. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  28. กิตฺติสทฺท : (ปุ.) เสียงสรรเสริญ, ฯลฯ, เสียง เลื่องลือคุณ.
  29. อุคฺค : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, แข็ง แรง, อุชฺ พเล, อ, ชสฺส คฺโค, ส. อุคฺร.
  30. กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
  31. ขฏขฏ : ค. (เสียง) ขฏะขฏะ
  32. คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
  33. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  34. โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
  35. : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
  36. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  37. ธนิ : (ปุ.) เสียง. ธนฺ สทฺเท. อิ. รูปฯ ๖๖๓.
  38. นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
  39. นินท, นินาท : ป. เสียง
  40. นินนาทิ : (วิ.) (เสียง) มีกังวาน วิ. นินฺนาโท เอตฺถ อตฺถีติ นินฺนาทิ. อิ ปัจ.
  41. นินาท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นาโถ นินาโท. ส.นินาท. หมายถึงเสียงทั่วไป.
  42. นิสฺสน : ป., นป. เสียง
  43. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  44. พณ : ป. เสียง
  45. พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.
  46. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  47. รวา : อิต. เสียง
  48. อนุนาสิก : ค. ซึ่งเกิดทางจมูก (เสียง)
  49. อวิสารี : (วิ.) ไม่เครือพร่า (เสียง...)วิ. พหิทฺธาปริสํองฺคุลิมตฺตมฺปินวิสรตีติอวิสารี.นวิปุพฺโพ, สรฺคติยํ, ณี.วิวิเธนนสรตีติวาอวิสารี.
  50. อุปรว : นป. เสียง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-352

(0.0615 sec)