มิคินฺท : ป. ราชาเนื้อ, เสือ, ราชสีห์
มิคฑสก : (ปุ.) หมา, เสือ.
อชิน : (ปุ.) เสือ.
เกนิปาต : (ปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ. เก ชเล นิปาตียเตติ เกนิปาโต. กระแชง เสา กระโดง?. ส. เกนิปาต.
โกนิสาตก : (ปุ.) เสือปลา.
จมฺมวาสี : (วิ.) ผู้นุ่งหนังสัตว์โดยปกติ, ผู้นุ่ง หนังเสือ (เหลือง) โดยปกติ, ผู้มีปกตินุ่ง หนังสัตว์.
จมฺมาวุต : (ปุ.) รถที่หุ้มด้วยหนังสัตว์, รถที่หุ้ม ด้วยหนังเสือโคร่งหรือเสือลาย วิ. จมฺเมหิ อาวุโต ปริกขิตฺโต จมฺมาวุโต.
จิตฺตก, จิตฺรก : ๑. ป. กวางดาว, เนื้อลาย, เสือดาว;
๒. ค. วิจิตร, สวยงาม, มีลวดลาย, มีหลายสี
จิตฺตกาย : ป. เสือ, เสือดาว, เสือลาย
จิตฺรก : (ปุ.) เสือดาว (มีลายเป็นจุดๆ).
เฉต : ป. เสือดาว
ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
ทิปิ ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง, เสือดาว, ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิ. ศัพท์หลังฑีฆะต้นธาตุ ถ้าตั้ง ทีปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องทีฆะ.
ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง เสือดาว (ผู้ประกาศ ความยิ่งใหญ่ในป่า). ทีปฺ ปกาสเน, อิ.
ทีปินี : อิต. แม่เสือเหลือง, แม่เสือดาว
ทีปิ, - ปิก : ป. เสือเหลือง, เสือดาว
นิพฺยคฺฆ : ค. (ที่) ปราศจากเสือ, ไม่มีเสือ
นิวฺยคฺฆ : ค. ปราศจากเสือ
ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
พพฺพุ : (ปุ.) เสือปลา, แมว, พังพอน. พพฺพฺ คติยํ, อุ.
พพฺพุ, พพฺพุก : ป. แมว, เสือปลา, พังพอน
พฺยคฺฆ : (ปุ.) เสือ, เสือลาย, เสือโคร่ง, ปีขาล. วิ. วีนํ หนฺตฺวา อาฆายตีติ วฺยคฺโฆ พฺยคฺโฆ วา. ฆา คนฺโธปาทาเน, โณ.
พฺยคฺฆสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ขาล, ปีขาล, ปีเสือ.
พิฬาร พิฬาล : (ปุ.) เสือปลา, แมว. พลฺ พิลฺ ธาตุ แปลง ลฺ เป็น ฬฺ. ดู พิลาล.
พิฬาร, พิฬาล : ป. แมว, เสือปลา
พิฬาลี : อิต. แมวตัวเมีย, นางแมว; พืชที่มีหัวใต้ดินชนิดหนึ่ง, มันมือเสือ
มิคาทน : (ปุ.) เสือดาว. มิค+อทฺ+ยุ ปัจ.
วฺยคฺฆ : ป. เสือโคร่ง
สทฺทูล : ๑. ป. เสือเหลือง, เสือดาว;
๒. ค. สูงสุด
สาปท : (ปุ.) เนื้อร้าย (มีเสือโคร่งเป็นต้น). สปฺ อกฺโกเส, โท ทีฆะต้นธาตุ.
อชินกฺขิป : ป. เสื่อที่ทำด้วยหนังเสือ
อชินปฺปเวณี : อิต. เครื่องลาดทำด้วยหนังเสือ
อชินิอชินี : (ปุ.) เสือเหลือง.
อชินิ อชินี : (ปุ.) เสือเหลือง.
อริตฺต : (นปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ.อรติเยนาติอริตฺตํ.อรฺคมเน, โต, ทฺวิตฺตํ, อิอาคโม.
อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
ทุธา : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนสองง ทฺวิ+ธาปัจ. วิภาตตัท. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.
ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
ปเวณิ : อิต. ช้องผม, ผมที่ผูกไว้หรือมวยผม; เชื้อสาย, ประเวณี, ประเพณี ; เสื่อ, เครื่องลาด
ภิสิ ภิสึ : (อิต.) เสื่อ, ที่นอน, เบาะ, ฟูก, หมอน.
ภุมฺมตฺถรณ : นป. การปูบนพื้นดิน, เสื่อ, พรม
มตฺถ : (ปุ.) คนที่สอ, ผักเปลา.
อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
อนุสาสนี : (อิต.) การพร่ำสอน, คำสั่งสอน, อนุศาสนี (คำสอนสำคัญที่ต้องสอนบ่อยๆ)ส. อนุศาสนี.
อปสฺสย : ป. เครื่องหนุน, หมอนข้าง, พนักพิง, เตียง, เสื่อ
อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
อวณฺณวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งโทษมิใช่คุณ, การกล่าวโทษ.วิ. วณฺโณถุติ, ตสฺสอวทนํอวณฺณวาโท.อวณฺณสฺสวาวาโทอวณฺณวาโท.