Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสื่อมศรัทธา, เสื่อม, ศรัทธา , then ศรทธา, ศรัทธา, สอม, สอมศรทธา, เสื่อม, เสื่อมศรัทธา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสื่อมศรัทธา, 108 found, display 1-50
  1. ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
  2. ชีรติ, ชิรยติ : ก. เก่า, แก่, ชรา, คร่ำคร่า, เสื่อม
  3. นิหียติ : ก. ทำลาย, เสื่อม
  4. ปธสติ : ก. ตก, หล่น, เสื่อม, คลาด
  5. ปริปาเตติ : ก. โจมตี; ล้มลง; ฆ่า; เสื่อม
  6. พฺยย : (วิ.) หมดไป, เสื่อม, สิ้น, สิ้นเปลือง, ฉิบหาย, พินาศ. วฺยยฺ ขเย, อ.
  7. หียติ : ก. ละ, เสื่อม
  8. อตฺถ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม, สูญ, หาย, ฉิบหายพินาศ. นปุพฺโพ, ถา คตินิวตฺถิยํ, อ, ตฺสํโยโค.
  9. อทสฺสน : (วิ.) ไม่เห็น, หาย, สูญ, หายสูญ, หายไป, เสื่อม, พินาศ.
  10. อปาย : (วิ.) ฉิบหาย, เสื่อม, ไม่เจริญ.น+ปาย.
  11. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  12. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  13. ปสีทติ : ก. เลื่อมใส, ศรัทธา, ยินดี, สะอาด, บริสุทธิ์
  14. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  15. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  16. ชีน : ค. เสื่อม, ลด, เปลือง, หมดไป
  17. ชียติ : ก. เสื่อม, หมดไป, เก่า, คร่ำคร่า, แก่
  18. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  19. ปราภวติ : ก. เสื่อม, ย่อยยับ, พินาศ
  20. ปริหายติ : ก. เสื่อม, เสียหาย
  21. ปริหีน : ค., กิต. เสื่อม, เลว
  22. หายติ : ก. เสื่อม, ละ
  23. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  24. ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
  25. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  26. คุณหีน : ค. ผู้เสื่อมจากคุณความดี
  27. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  28. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  29. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  30. ชรติ : ก. แก่, คร่ำคร่า, เสื่อมคลาย
  31. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  32. ชานิย ชานี : (วิ.) ผู้มีความเสื่อม, ฯลฯ. อิยปัจ. อี ปัจ.
  33. ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
  34. ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
  35. ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย
  36. : (วิ.) เสื่อมแล้ว, ฉิบหายแล้ว, พินาศแล้ว. ฌ = นฏฺฐ
  37. ญาติวฺยส : นป. ความพินาศแห่งญาติ, การเสื่อมแห่งญาติ
  38. ทิฏฺฐิวฺยสน : นป. ความพินาศคือทิฐิ, ความเสื่อมเพราะความเห็นผิด
  39. ที : (ปุ.?) การเปลือง, การเสื่อม, การสิ้น, ความเปลือง, ฯลฯ. ที ขเย, อ. ส. ที.
  40. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  41. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  42. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  43. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  44. นาส : (ปุ.) ความตาย, ความเสื่อม, ความฉิบ หาย, ความพินาศ, ความย่อยยับ ความป่นปี้, การทำลาย, การฆ่า, การฆ่าฟัน. นสฺ อทสฺสเน, โณ. ส. นาศ.
  45. ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
  46. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  47. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  48. ปราภูต : ค. ผู้เสื่อม, ผู้ย่อยยับแล้ว
  49. ปริกฺขย : ป. ความเสื่อมสูญ, ความสิ้น
  50. ปริหานิ : อิต. ความเสื่อม, ความหายนะ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-108

(0.0745 sec)