จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
ปริหายติ : ก. เสื่อม, เสียหาย
เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
ปริหาเปติ : ก. ให้เสื่อม, ให้เสียหาย
ปาริชุญฺญ : นป. ความเสื่อม, ความทรุดโทรม, ความสูญเสีย
อายสกฺย : นป. ความดูหมิ่น, ความเสื่อมเสีย, ชื่อเสียงเสีย
ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
ชีรติ, ชิรยติ : ก. เก่า, แก่, ชรา, คร่ำคร่า, เสื่อม
นิหียติ : ก. ทำลาย, เสื่อม
ปธสติ : ก. ตก, หล่น, เสื่อม, คลาด
ปริปาเตติ : ก. โจมตี; ล้มลง; ฆ่า; เสื่อม
พฺยย : (วิ.) หมดไป, เสื่อม, สิ้น, สิ้นเปลือง, ฉิบหาย, พินาศ. วฺยยฺ ขเย, อ.
หียติ : ก. ละ, เสื่อม
อตฺถ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม, สูญ, หาย, ฉิบหายพินาศ. นปุพฺโพ, ถา คตินิวตฺถิยํ, อ, ตฺสํโยโค.
อทสฺสน : (วิ.) ไม่เห็น, หาย, สูญ, หายสูญ, หายไป, เสื่อม, พินาศ.
อปาย : (วิ.) ฉิบหาย, เสื่อม, ไม่เจริญ.น+ปาย.
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
ปทุฏฺฐ : ค. อันโทษประทุษร้ายแล้ว, เสีย, ดุร้าย, เลวทราม
อคุณ : (วิ.) มิใช่คุณ, เสีย, เป็นโทษ.
สย : (ปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สโย.
อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
ชีน : ค. เสื่อม, ลด, เปลือง, หมดไป
ชียติ : ก. เสื่อม, หมดไป, เก่า, คร่ำคร่า, แก่
ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
ปราภวติ : ก. เสื่อม, ย่อยยับ, พินาศ
ปริหีน : ค., กิต. เสื่อม, เลว
หายติ : ก. เสื่อม, ละ
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
กปฺปพินฺทุ : (นปุ.) จุดอันสำเร็จ, จุดอัน สมควร, จุดอันภิกษุทำบนผ้าให้เป็นของ ควรใช้สอย, กัปปพินทุ คือจุดที่พระทำบน ผ้าของพระ เพื่อทำให้เสียสีหรือเพื่อเป็น เครื่องหมายให้จำได้.
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
คุณหีน : ค. ผู้เสื่อมจากคุณความดี
คูถภาณี : ค. ผู้พูดเลว, พูดไม่เพราะ, พูดหยาบ; คนปากเหม็น, คนปากเสีย
จกฺกฉินฺน : ค. มีจักรอันขาดแล้ว; มีวงล้อหักเสียหายแล้ว
จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
จาคี : ป., ค. ผู้สละ, ผู้เสียสละ, ผู้ละเลิก, ผู้ให้, ผู้บริจาค
ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.