ปารุปน : นป. การนุ่งห่ม, ผ้าห่ม, เสื้อคลุม
ปาวา : อิต. เมืองหลวงของแคว้นมัลละ; เสื้อคลุม; ต้นมะม่วง
สาฏิกา : อิต. เสื้อคลุม, เสื้อ
ปาวาร : ป. เสื้อคลุม
พาหิติกา : อิต. เสื้อคลุม, เสื้อกันหนาว
โกเสยฺยปาวาร : ป. ผ้าห่มซึ่งทอด้วยไหม, เสื้อคลุมไหม
กญฺจุก : (ปุ.) ผ้า, ผ้าโพกหัว, หมวก, เสื้อ, เสื้อกั๊ก, เกราะ, หีบ, ซอง, ฝักมีด, เครื่อง ปกคลุม, คราบงู. กจฺ พนฺธเน, อุโก, นิคฺคหิตาคโม.
คุณฺเฐติ : ก. ห่อ, หุ้ม, คลุม, ซ่อน; ปกปิด
ปาปุรติ : ก. ปิด, ห่อ, คลุม, ซ่อน, กำบัง
ปิทหติ : ก. ปิด, คลุม, ห่อ, ป้องกัน
ปิฬยฺหติ : ก. ห่ม, คลุม, ปิด, นุ่ง, ประดับ
กกฏ กงฺกฏ : (ปุ.) เกราะ, เสื้อเกราะ. กํก คมเน, อโฏ. ส. กงฺกฏ.
กณฺฐลตา : อิต. ปลอกคอเสื้อ; บังเหียนม้า
กวจชาลิกา : อิต. เสื้อเกราะ
โกช : ป. เกราะ, เสื้อเกราะ
คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
จิลิมิกา : (อิต.) ผ้าคลุม, ผ้าดาม, ปลอก.
เจลิกา : อิต. เสื้อใน (ของผู้หญิง)
ตณฺหาเลป : ป. ความเคลือบคลุมแห่งตัณหา
ตนุตฺตาน : นป. เสื้อเกราะ
ทีฆกญจุก : (ปุ.) เสื้อนอก.
นิริงฺคินี : (อิต.) เส้นเลือด, สายเลือด. นิ+ ริงฺคินี. ส. นิริงฺคินี ผ้าคลุม.
ปฏลิกา : อิต. เครื่องปกปิดคลุมด้วยดอกไม้
ปฏิสีสก : อ. คลุมศีรษะ, ปกศีรษะ
ปาปุรณ : นป. ฝาปิด, เครื่องปกปิด, เครื่องห่ม, เครื่องคลุม
ปิทหน : นป. การปิด, การคลุม, การห่อ, การป้องกัน
วารพาณ : นป. เสื้อเกราะ
สิโรชาล : ป. ผ้าคลุมหัว
อพฺภจฺฉาทิต : กิต. คลุมแล้ว, ปกปิดแล้ว
อาวิก : ป., ค. เสื้อที่ทำด้วยขนแกะ, ผ้าสักหลาด
อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
อุตฺตรจฺฉท : ป. เครื่องลาดมีเพดาน, เครื่องปกปิด, เครื่องคลุม
อุตฺตรตฺถรณ : นป. ผ้าคลุมข้างบน, ผ้าห่ม
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
โคโลมี : อิต. ว่านน้ำ
อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
ทุธา : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนสองง ทฺวิ+ธาปัจ. วิภาตตัท. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.
ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
ปเวณิ : อิต. ช้องผม, ผมที่ผูกไว้หรือมวยผม; เชื้อสาย, ประเวณี, ประเพณี ; เสื่อ, เครื่องลาด
ภิสิ ภิสึ : (อิต.) เสื่อ, ที่นอน, เบาะ, ฟูก, หมอน.
ภุมฺมตฺถรณ : นป. การปูบนพื้นดิน, เสื่อ, พรม
มตฺถ : (ปุ.) คนที่สอ, ผักเปลา.
อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
อนุสาสนี : (อิต.) การพร่ำสอน, คำสั่งสอน, อนุศาสนี (คำสอนสำคัญที่ต้องสอนบ่อยๆ)ส. อนุศาสนี.
อปสฺสย : ป. เครื่องหนุน, หมอนข้าง, พนักพิง, เตียง, เสื่อ
อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
อวณฺณวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งโทษมิใช่คุณ, การกล่าวโทษ.วิ. วณฺโณถุติ, ตสฺสอวทนํอวณฺณวาโท.อวณฺณสฺสวาวาโทอวณฺณวาโท.