วิกฺขมฺภ : ป. ๑. เส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม;
๒. การข่ม, การถอนออก
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
ตรติ : ก. ข้าม, ผ่าน, รีบร้อน
วิกนฺตติ : ก. ตัด, ผ่าน, หั่น
สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
กลาปก : ป. เส้นเชือกหรือแถวแนว
เกทารปาลิ : (อิต.) เส้นเขตนา.
คตโยพฺพน : ค. ผู้มีวัยหนุ่มสาวผ่านพ้นไปแล้ว, ผู้พ้นวัยหนุ่มสาวไปแล้ว
คาหติ : ก. ดำลงไป, ผ่านเข้าไป, โจนลงไป
จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
ตริตุ : ป. ผู้ข้าม, ผู้ผ่าน
ตเรสี : ค. ผู้ต้องการจะข้ามไป, ผู้หวังจะผ่านไป
ตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้ผ่าน; ให้รีบเร่ง
ทกฺขิณนิกาย :
(ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
ทุรจฺจย : ค. ซึ่งก้าวล่วงได้โดยยาก, ผ่านไปได้ยาก
ทุหิติก : ค. (ทาง) ซึ่งไปได้ยาก, ซึ่งผ่านไปได้ยาก, ซึ่งไปลำบาก
เทปิจฺฉ : อ. มีขนหางสองเส้น
เทฺวปิจฺฉ : ค. มีขนหางสองเส้น
ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
ธมนิ, - นี : อิต. เส้นเลือด, เส้นเอ็น, เส้นประสาท
ธมนิสนฺถตคตฺต : ค. มีตัวอันสะพรั่งด้วยเส้นเอ็น
ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
นหารุ, (นฺหารุ) : นป., อิต. เอ็น, เส้นเอ็น
นิคจฺฉติ : ก. เข้าไป, เข้าถึง, มาถึง, ผ่านไป, บรรลุ
นิตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้พ้น, ให้ก้าวล่วง, ให้ผ่านไป
นิตฺติณฺณ : ค. ซึ่งข้ามได้แล้ว, อันผ่านพ้นไปแล้ว
นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
นิตฺถาร : ป. การข้ามไป, การผ่านไป, การทำให้สำเร็จลุล่วงไป, การชำระ
ปณฺฑุสุตฺต : นป. เส้นด้ายสีเหลือง, ด้ายเหลือง
ปตรติ : ก. ผ่านไป, ซึมซาบ, ข้ามไป, ไหลท่วมไป, ล้น, เดือดพล่าน
ปตาเรติ : ก. ให้ผ่านไป, ให้ซึมซาบ, ให้ข้ามไป, ให้ไหล, ให้ท่วมไป, ให้ล้น, ให้เดือดพล่าน
ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
ปริกตฺต : กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่านแล้ว, ตัดแล้ว, ผ่าออกแล้ว
พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
มกจิวาก : นป. เส้นปอ, มัดปอ
มหาตาปสาธน : นป. เครื่องประดับเส้นใหญ่
รสคฺคสา : อิต. เส้นประสาท
โลหสลากา : อิต. เส้นลวด
วิกนฺตน : นป. การตัด, การผ่าน, การหั่น
สมติกฺกมติ : ก. ก้าวล่วง, ผ่านไป