ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
ธมนิ, - นี : อิต. เส้นเลือด, เส้นเอ็น, เส้นประสาท
ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
นหารุ, (นฺหารุ) : นป., อิต. เอ็น, เส้นเอ็น
นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
ธมนิสนฺถตคตฺต : ค. มีตัวอันสะพรั่งด้วยเส้นเอ็น
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
ธมนิสนฺลตคตฺด : (วิ.) ผู้มีตัวสะพรั่งแล้วด้วย เอ็น.
สิรา : (อิต.) เอ็น วิ. เสติ สรรนฺติ สิรา. สิ พนฺธเน, โร, อิตฺถิยํ อา.
อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
กณฺฑรจฺฉินฺน : (ปุ.) คนเอ็นใหญ่ขาด.
กณฺฑรา : (อิต.) เอ็นใหญ่ กฑิ เภทเน, อโร. ส. กณฺฑรา.
กลาปก : ป. เส้นเชือกหรือแถวแนว
เกทารปาลิ : (อิต.) เส้นเขตนา.
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
เทปิจฺฉ : อ. มีขนหางสองเส้น
เทฺวปิจฺฉ : ค. มีขนหางสองเส้น
ปณฺฑุสุตฺต : นป. เส้นด้ายสีเหลือง, ด้ายเหลือง
ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
มกจิวาก : นป. เส้นปอ, มัดปอ
มหาตาปสาธน : นป. เครื่องประดับเส้นใหญ่
มหาสิรา : (อิต.) เอ็นใหญ่.
รสคฺคสา : อิต. เส้นประสาท
โลหสลากา : อิต. เส้นลวด
วิกฺขมฺภ : ป. ๑. เส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม;
๒. การข่ม, การถอนออก
สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
อฑฺฒกุสิ : (นปุ.) อัฑฒกุสิชื่อเส้นคั่นดุจคันนาขวางของกระทงจีวรซึ่งอยู่ระหว่างมณฑล กับ อัฑฒมณฑล.
อาลิขติ : ก. ขีดเส้น, วาดรูป
ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติมานี : (วิ.) หามานะมิได้, ไม่มีมานะ.
อนติริตฺต : (วิ.) น้อย, ขาดแคลน, มิใช่เดน, ไม่เป็นเดน.
อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
อนนุจฺฉวิก : (วิ.) อันไม่สมควร.
อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
อนนุวชฺช : (วิ.) อัน...ไม่พึงติเตียน.น+อนุ+วทฺ+ณฺยปัจ.
อนปทาน : (วิ.) มีมารยาทไม่สมควร. น+อปทาน
อนเปกฺข : (วิ.) เฉยเมย.