สนฺต : กิต. สงบระงับแล้ว
สนฺติ : ๑. อิต. ความสงบ;
๒. ก. มีอยู่
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ
(๑) สิงฺคาร ความรัก
(๒) กรุณา ความเอ็นดู
(๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ
(๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์
(๕) หสฺส ความร่าเริง
(๖) ภย ความกลัว
(๗) สนฺต ความสงบ
(๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง
(๙) รุทฺธ ความโกรธ
ผารุสก : (นปุ.) ผารุสกะ ชื่อสวนหรือป่าของท้าวสักกะ, สวนหรือป่าของพระอินทร์. วิ. ผารุสการนํ ยตฺถ สนฺติ ตํ ผารุสกํ. ณ ปัจ.
สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
สมิธา : (อิต.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. สนฺต มคฺคึ เอธยติ อทฺธยตีติ สมิธา. สนฺตปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, อ. แปลง สนฺต เป็น ส มฺ อาคม อา อิต. ส. สมิธ.
สมีร สมีรณ : (ปุ.) ลม วิ. สมนฺตโต อีรติ กมฺปติ ขิปติ รุกฺขาทโยติ สมีโร. สนฺตํ นิจฺจลํ อีรยติ กมฺเปตีติ สมีรโร. อีรฺ กมฺปเน, อ, ยุ. ส. สมีร. สมีรณ.
สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
สิตา :
(อิต.) รอยไถ. สิ สเย, โต, อิตฺถิยํ อา. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตายาติ สิตา. สิ พนฺธเน. สิตา นารี. ดู สีตา ด้วย.
สีตา : (อิต.) รอยไถ วิ. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตา ยาติ สีตา, นงฺคลเลขา. สิ พนฺธเน. โต, ทีโฆ. ส. สีตา.
อุชฺโชต : (ปุ.) แสงสว่าง. วิ. อนฺธการํ วิทฺธํ เสนฺโต โชเตตีติ อุชฺโชโต. อุปุพฺโพ, ชุตฺ ทิตฺติยํ, โณ, ชฺสํโยโค.