กรหาฏ กรหาฏก : (นปุ.) เหง้าในดิน, หัวใน ดิน, เหง้า, หัว, ก้านดอกไม้. วิ. กุยํ รูหตีติ กรหาฏํ. กุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อาโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
ภึส ภึสร : (นปุ.) ราก, เหง้า, รากบัว, เหง้าบัว. วิสฺ เปรเณ, อ, อโร, นิคฺคหิตาคโม. แปลง วิ เป็น ภิ.
กนฺท : (ปุ.) เหง้า, หัวในดิน, หัวมัน, กนฺทฺ อวฺหาเณ, อ.
กนฺทฬ : ป. ชื่อบัวน้ำ ซึ่งใช้เป็นอาหารได้มีเหง้าใหญ่มาก
กลีร กฬีร : (ปุ.) ไม้ที่งอก, หน่อไม้ (ที่งอกจาก หัวหรือเหง้า), ยอดไม้, หยวกกล้วย. วิ. อเนน ถูลาทิ กลียตีติ กลีโร. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร.
กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
ตาลกนฺท : ป. เหง้าในดิน, หัว (หอม, กระเทียม), รากตาล
ปิญฺชโรทก (ชิญฺชโรทก) : นป. เหง้าบัว
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
ภิสมุฬาล : นป. รากบัว, เหง้าบัว
มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
มุฬาล : นป. เหง้าบัว
สาลุก : นป. เหง้าบัว
สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.