Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหนี่ยวรั้ง, เหนี่ยว, รั้ง , then รง, รั้ง, หนยว, หนยวรง, เหนี่ยว, เหนี่ยวรั้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหนี่ยวรั้ง, 23 found, display 1-23
  1. สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
  2. อุทฺทาม : (วิ.) คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยว รั้ง. อุปุพฺโพ, ทมฺ คมเน, โณ. ส. อุทฺทาม.
  3. ชปฺปนา : (อิต.) ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง. ชปฺปฺ วจเน, ยุ.
  4. ชปฺปิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตเหนี่ยว รั้ง, ความที่จิตเหนี่ยวรั้ง.
  5. นิคฺคหณตา : อิต. การข่ม, การรั้ง, การหน่วงเหนี่ยว, การควบคุม
  6. ปฏิสยมติ : ก. สำรวม, ระวัง, ควบคุม (ตนเอง) , เหนี่ยวรั้งจิตใจ
  7. อากฑฺฒน : (วิ.) ฉุด, คร่า, รั้ง, ลาก.อาปุพฺโพ, กฑฺฒฺอากฑฺฒเน, ยุ.
  8. อากสฺสติ : ก. ฉุด, คร่า, ดึง, รั้ง, ลาก
  9. กจฺฉุผล : (นปุ.) เต่ารั้ง เต่าร้าง ใช้ได้ทั้งสองคำ หมากคัน ก็เรียก.
  10. คิหิสโยชน : นป. (กิเลส) เครื่องหน่วงเหนี่ยวของคฤหัสถ์, เครื่องผูกพันของคฤหัสถ์
  11. ชปฺปา : (อิต.) ความปรารถนา, ความเหนี่ยรั้ง.
  12. ปฏิคาธ : ป. ที่พึ่ง, ที่ยึดเหนี่ยว, หลักยึด
  13. ปฏิสรณ : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ที่คุ้มภัย
  14. ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
  15. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  16. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  17. หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.
  18. อวคฺคห : ป. การห้าม, การขัดขวาง, การหน่วงเหนี่ยว
  19. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  20. อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
  21. ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
  22. ตถตฺต : (วิ.) มีจิตเที่ยง, มีจิตตรง.
  23. สุรงฺค : (ปุ.) สีงาม, สีดี, สีงามเรืองรอง, สีฉูดฉาด, สุรงค์, สุหรง (สีงาม สีจัด สีฉูดฉาด). สุนฺทร+รงฺค. ส. สุรงฺค.
  24. [1-23]

(0.0710 sec)