Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหมาะสำหรับ, สำหรับ, เหมาะ , then สำหรับ, หมา, หมาสำหรบ, เหมา, เหมาะ, เหมาะสำหรับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหมาะสำหรับ, 399 found, display 1-50
  1. กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
  2. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  3. จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
  4. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  5. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  6. ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  7. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  8. สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
  9. อนุรูป : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งรูป, คล้าย, สม, สมควร, เหมาะ, พอเพียง.ส.อนุรูป.
  10. โอกปฺปนิย : ค. ควรไว้ใจ, เหมาะ
  11. กปฺปิย : (วิ.) ควร, สมควร, ใช้ได้, เหมาะ. กปฺป อิย สกัด.
  12. อนุโลมิก : (วิ.) ควร, สม, สมควร, เหมาะ.
  13. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  14. อนุโลม : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งขน, ตามขนคือตามลำดับได้แก่การพิจารณาจับเหตุไปหาผล หรือจับต้นไปหาปลาย, เป็นไปตาม, คล้อยตาม, เป็นพวก, ไม่ขัดขืน, ตามลำดับ, สะดวก, เหมาะ.ส. อนุโลมอนุโลมนฺ.
  15. กกฺก : (ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน, อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล.
  16. กกฺกฎกยนฺตก : นป. บันไดมีขอที่ปลายสำหรับเกาะกำแพง
  17. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  18. กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
  19. กจวรฉฑฺฑนก : นป. กจวรฉฑฺฑนิ อิต. ภาชนะสำหรับเทหยากเยื่อ
  20. กจวรฉฑฺฑนปจฺฉิ กจวรปจฺฉิ : (อิต.) ตะกร้า สำหรับทิ้งขยะ, ตะกร้าขยะ.
  21. กญฺจุกี : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนรับใช้ นางใน, คนแก่, เถ้าแก่. วิ. กญฺจุกํ โจฬํ, ตํโยคา กญฺจุกี. ณี ปัจ. ส. กญฺจุกิน.
  22. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  23. กฏจฺฉุปริสฺสาวน : (นปุ.) ผ้าสำหรับกรองน้ำ มีรูปคล้ายช้อน.
  24. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  25. กณฺฏกกสา : อิต. แส้หนามสำหรับลงโทษ
  26. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  27. กณฺฑนาฬี : อิต. กระบอกสำหรับใส่ลูกศร
  28. กณฺฑุปฏิจฺฉาทิ : นป. ผ้าสำหรับนุ่งปิดฝี
  29. กถลิ : อิต., กถลิ นป. ตั่ง, ท่อนไม้หรือเศษผ้าสำหรับเช็ดเท้า
  30. กปฺปตา : อิต. ความเหมาะสม, ความสมควร
  31. กปฺปติ : ก. ควร, เหมาะสม
  32. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  33. กปฺเปติ : ก. สำเร็จ, เลี้ยงชีพ, จัดแจง, เตรียม, พิจารณา, ทำให้เหมาะสม
  34. กมณฺฑลุ : (ปุ. นปุ.) กะโหลก, กะโหลกศรีษะ, กะโหลกน้ำเต้า, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, กระ- ออม, ลักจั่น (ภาชนะสำหรับใส่น้ำ). วิ. กมณฺฑํ ลาตีติ กมณฑลุ. กมณฺฑปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อุ. ส. กมณฺฑลุ.
  35. กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
  36. กมฺมสาทุตา : อิต. ความควรแก่การงาน, ความเหมาะสมแก่การงาน
  37. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  38. กลส : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้วย, หม้อน้ำ, กลส กลศ ชื่อภาชนะ มีรูปเหมือนคนโทน้ำ มีฝาปิด และมีพวยเหมือนกาน้ำ สำหรับใส่น้ำเทพ- มนต์ ของพราหมณ์ วิ. เกน ลสตีติ กลโส. กปุพฺโพ ลสฺ กนฺติยํ, อ. เกน ลิสฺสตีติ วา กลโส. ลิสฺ สิเลสเน, อ, อิสฺสตฺตํ, กลียตีติ วา กลโส. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโส. ส. กลศ.
  39. กลีร : (นปุ.) ผัก (สำหรับดอง หรือแกง).
  40. กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
  41. กสตาล กสตาฬ : (นปุ.) กังสดาล กังสดาฬ ชื่อโลหะหรือสัมฤทธิ์ ที่ทำไว้สำหรับตี มี ฆ้องเป็นต้น, ระฆังวงเดือน. กํสปุพฺโพ, ตฬฺ ตาฬเน, โณ.
  42. กสิณมณฺฑล : นป. วัตถุกลมๆ เช่น กระด้ง สำหรับเพ่งเวลาทำกัมมัฏฐาน
  43. กาช : (ปุ.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบของ, หาบ ติณกาช หาบแห่งหญ้า. กจฺ พนฺธเน, โณ, จสฺส โช. เวสฯ ๓๕๓ เป็น กชฺช พฺยตเน, อ. ลบ ชฺ สังโยค.
  44. กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
  45. กายพนฺธน : (นปุ.) ผ้าสำหรับผูกซึ่งกาย, ผ้า รัดประคดเอว, รัดประคดเอว, ประคดเอว.
  46. กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
  47. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  48. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  49. กีฬาโกฬ, โกฬก : นป. ลูกบอล, ลูกกลมสำหรับเล่น
  50. กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-399

(0.0679 sec)