นิทฺธมน : นป., นิทฺธมนา อิต. การขจัดออก, การระบายออก, การทดน้ำ; คลอง, เหมือง
มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
ตลาก ตฬาก : (ปุ.) สระ, บึง, เหมือง. ตลฺ ปติฏฐายํ ตฬฺ อาฆาเต วา อาโก.
กนกตฺถลี : อิต. บ่อทอง, เหมืองทองคำ
ตฏาก : (ปุ.) เหมือง, สระ, สระบัว. ตฏฺ อุสฺสเย, อาโก.
เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
นทีมาติก : ป. ประเทศที่อาศัยน้ำ, เหมืองทดน้ำ, เหมืองฝาย
อขาต : (นปุ.) หนองที่ไม่ได้ขุด, เหมืองน้อย, วิ. น ขาตํ อขาตํ. นปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โต. ส. อขาต อาขาต.
อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
กฏุวิย : ค. ไม่บริสุทธิ์, เศร้าหมอง
กมฺมกิเลส : ป. กรรมกิเลส, กรรมเป็นเหตุให้เศร้าหมอง
กสมฺพุชาต กสมฺพุกชาต : (วิ.) ผู้มีหยากเยื่อ เกิดแล้ว, ผู้เศร้าหมอง.
กามกลล : นป. เปือกตมคือกาม, กามมีอาการทำให้เศร้าหมองดุจเปือกตม
กิลิฏฐ : ๑. ไตร. ถ้อยคำที่ไม่สมต้นสมปลาย;
๒. กิต. เศร้าหมอง, ไม่สะอาด
กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
กิเลส : ป. กิเลส, สิ่งที่ทำใจให้เศร้าหมอง
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
กิเลเสติ : ก. ทำให้เศร้าหมอง, ทำให้เปียก
จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
จิตฺตสงฺกิเลส : ป. ความเศร้าหมองแห่งจิต, จิตเศร้าหมอง
จีวรลูข : ค. (ภิกษุ) ผู้ทรงผ้าจีวรอันเศร้าหมอง, ผู้นุ่งห่มผ้าจีวรสีปอนๆ
เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
ปริกิลิฏฺฐ : กิต. เศร้าหมองแล้ว, ขุ่นมัวแล้ว, สกปรกแล้ว
ปริกิลิสฺสติ : ก. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว, สกปรก
ปริกิลิสฺสน : นป. ความเศร้าหมอง
ปริเกฺลส : ป. ความลำบาก, ความเศร้าหมอง
ผรุส : (วิ.) ขรุขระ, หยาบ, หยาบคาย, อย่างหยาบ, ปอน, เศร้าหมอง.
พหุมล : ค. มีมลทินมาก, มีเครื่องเศร้าหมองมาก
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
มลิน, - นก, มลิมส : ค. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
รชฺชน : นป. เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง, กิเลส
ลูข : ค. หยาบ; เศร้าหมอง; ทุกข์ , ขัดสน
ลูขจีวร : ค. ผู้ห่มจีวรอันเศร้าหมอง
ลูขปฺปมาณิก : ค. ผู้ถือเอาความเศร้าหมองเป็นประมาณ
สงฺกิลิฏฺฐ : กิต.เศร้าหมองแล้ว
สงฺกิลิสฺสติ : ก. เศร้าหมอง
สงฺกิเลส : ป. การเศร้าหมอง
สงฺกิเลสิก : ค. มีความเศร้าหมอง, เป็นอันตราย
อติลูข : ค. เศร้าหมองยิ่ง
อนงฺคณ : (วิ.) ผู้มีกิเลสเพียงดังเนินหามิได้, ผู้ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน, ผู้ไม่มีกิเลส, ผู้ไม่มัวหมอง, ผู้บริสุทธ์, ผู้งาม, งาม.น+องฺคณ.
อลูข : ค. ไม่หมองมัว, ไม่ขุ่น
อสงฺกิลิฏฺฐ : ค. ไม่เศร้าหมอง, บริสุทธิ์
อสงฺกิเลสิก : ค. ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องเศร้าหมอง, ผู้ไม่มีความเศร้าหมอง, ผู้ไม่สกปรก
อสุจีก : นป. ความไม่บริสุทธิ์สะอาด, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
อาลุลติ : ก. ฟุ้งซ่าน, ขุ่นมัว, หมองหม่น
อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.